Browsing by Author "Kamolphat Markchang"
Now showing items 1-12 of 12
-
กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรีของประเทศไทยและต่างประเทศ
นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 ได้บัญญัติว่า เครื่องดื่มใดๆ ที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี ไม่ถือว่าเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จึงมีผลให้เครื่องดื่มดังกล่าวไม่ถูกควบคุมฉลาก การโฆษณาและมาตรการอื่นๆ ภายใต้พระราช ... -
กลไกการประมวลสถานการณ์และการสนับสนุนงานวิชาการนโยบายและระบบสุขภาพ: กรณีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด
สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; วิมลรัตน์ ถนอมศรีเดชชัย; Wimonrat Tanomsridachchai; ธนินทร์ พัฒนศิริ; Thanin Pattanasiri; ศักดิธัช อิทธิพิสิฐ; Sakditat Ittiphisit; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)โครงการนี้มีจุดประสงค์ที่จะพัฒนารูปแบบหรือกลไกการสนับสนุนทางวิชาการ สำหรับการตัดสินใจประเด็นเชิงนโยบายที่มีความซับซ้อนมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในระยะเวลาที่จำกัด โดยในโครงการนี้จะใช้ประเด็นการถ่ายโอนภารกิจสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ... -
การติดตามราคาและปริมาณน้ำตาลในเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลก่อนและหลังการปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลของประเทศไทย
กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)ประเทศไทยมีการบังคับใช้พระราชบัญญัติสรรพสามิต พ.ศ. 2560 โดยมีการเปลี่ยนแปลงพิกัดอัตราภาษีและวิธีการจัดเก็บภาษีเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล (sugar-sweetened beverages: SSBs) ส่งผลให้มีการปรับโครงสร้างและอัตราภาษีเครื่องดื่มที่ม ... -
การถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศไทย: ความก้าวหน้าและความท้าทาย
ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; ศศิวิมล อ่อนทอง; Sasivimol Ontong; นิจนันท์ ปาณะพงศ์; Nitjanan Panapong; ธนินทร์ พัฒนศิริ; Thanin Pattanasiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)งานวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการทบทวนเอกสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของการถ่ายโอนสถานบริการสุขภาพให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นฉบับที่ ... -
การทบทวนข้อแนะนำเชิงนโยบายด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนจากองค์การระหว่างประเทศและการดำเนินงานของประเทศไทย
กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; สรศักดิ์ เจริญสิทธิ์; Sorasak Charoensit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนข้อแนะนำเชิงนโยบายด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนจากองค์การระหว่างประเทศและการดำเนินงานของประเทศไทย ศึกษาโดยใช้วิธีการทบทวนเอกสารเครื่องมือนโยบายจากองค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ คณะมนตรีสิ ... -
การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย
วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ณัฐดนัย รัชตะนาวิน; Nattadhanai Rajatanavin; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019, COVID-19 หรือ โควิด-19) นับเป็น "การระบาดใหญ่" (pandemic) หลังจากพบผู้ติดเชื้อทั่วโลก ปัจจุบัน (กันยายน 2563) มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 30 ล้านราย ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบายกลไกประสานความร่วมมือภาควิชาการ ภาคประชาสังคม และภาครัฐ เฝ้าระวังการแทรกแซงนโยบายของอุตสาหกรรม ปัจจัยเสี่ยงโรค NCDs
กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) เพื่อการขับเคลื่อนการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับส่วนกลาง และเขตพื้นที่ ภายใต้โครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนามาตรการและนโยบายโรคไม่ติดต่อ ปี พ.ศ. 2563 (Fellowship Program on NCDs ... -
นโยบายและกฎหมายแอลกอฮอล์ ในประเทศ CLMV
กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ฤชากร ไตรรัตนานุสรณ์; Ruechagorn Trairatananusorn; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ช่องว่างของมาตรการและกฎหมายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม (CLMV) ในการศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ยุทธศาสตร์ระดับโลกเพื่อลดการดื่มสุร ... -
ปัจจัยทางการค้ากำหนดโรคไม่ติดต่อ: นิยามและกรอบแนวคิดจากการทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขต
กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; เบญจภรณ์ นามเสนา; Benchaporn Namsena; สุภิกา เชื้อจิ๋ว; Supika Chuejew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตเพื่อพัฒนากรอบแนวคิดในการติดตามปัจจัยทางการค้ากำหนดโรคไม่ติดต่อ โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขต (scoping review) การสัมภาษณ์และอภิปรายกลุ่มกับผ ... -
สถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของไทย กรณีศึกษา สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพและสาระหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; จักร เจริญศิลป์ชัย; Chak Charoensilpchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02-14)รายงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการศึกษา “รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของ ไทย” กรณีศึกษา สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพ และสาระหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่ คุกคามสุขภาพ ข้อมูลที่ใช้ในการดำเนินงานครั้งนี ... -
สถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพ และหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยคุกคามสุขภาพ
ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ทิพิชา โปษยานนท์; Tipicha Posayanonda; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; จักร เจริญศิลป์ชัย; Chak Charoensilchai; ศิริธร อรไชย; Sirithorn Orachai; นภินทร ศิริไทย; Napintorn Sirithai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 27(3) บัญญัติให้สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สำรวจ ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ รวมทั้งสถานการณ์ของระบบสุขภาพ เพื่อให้เกิดการดำเนินการตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ... -
หน่วยประมวลสถานการณ์ระบบสุขภาพ: กรณีการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด
สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; ศศิวิมล อ่อนทอง; Sasivimol Ontong; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; นิจนันท์ ปาณะพงศ์; Nitjanan Panapong; ภัทรจิราพร สุโอสถ; Patjirapohn Suosot; ธนินทร์ พัฒนศิริ; Thanin Pattanasiri; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)การถ่ายโอนภารกิจสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) มีความเป็นพลวัตและมีผู้เกี่ยวข้องหลายภาคส่วน ซึ่งข้อมูลวิชาการจะมีความ ...Tags:Recommended