Browsing by Subject "Artificial Intelligence"
Now showing items 1-17 of 17
-
Medical Intelligence
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ... -
การประยุกต์ใช้และทดสอบประสิทธิผลของระบบดูแลผู้อยู่อาศัยเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีและปลอดภัยด้วยปัญญาประดิษฐ์ในบริบทการใช้งานจริงของครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ในสภาวะสังคมและเศรษฐกิจปัจจุบัน พบว่ามีผู้สูงอายุเป็นจำนวนมากที่ต้องอยู่ตามลำพังในบางเวลา เช่น เวลาที่คนในครอบครัวออกไปทำงาน ซึ่งในระหว่างนั้นผู้ดูแลที่อยู่นอกบ้านจะไม่สามารถเฝ้าระวังเหตุการณ์เสี่ยงที่อาจจะเกิดผลร้ายแรงต่าง ... -
การพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ช่วยในการคัดกรองรอยโรคจากภาพถ่ายรังสีทรวงอกเพื่อคัดกรองวัณโรคปอด มะเร็งปอดและรอยโรคอื่นๆ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ภาพถ่ายดิจิทัลรังสีทรวงอก หรือ Digital chest x-ray image เป็นเครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ช่วยในการวินิจฉัยโรค ได้แก่ วัณโรคปอดและมะเร็งปอด ในการตรวจสุขภาพประจำปีอีกด้วย ในแต่ละปีมีภาพถ่า ... -
การพัฒนาเครื่องมือเพื่อประเมินความเสี่ยงทางคลินิกของผู้ป่วยหนักด้วยกระบวนการเรียนรู้ด้วยเครื่อง โดยใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยหนักเพื่อการวิจัยของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตัวในหอผู้ป่วยวิฤตมีความเสี่ยงต่อการเสื่อมสภาพทางคลินิก เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจขาดเลือด โดยส่วนใหญ่แพทย์และพยาบาลจะประเมินอาการของผู้ป่วยโดยใช้ข้อมูลทางคลินิก ข้อมูลทางพยาธิวิทยาร่วมกับทางสรีรวิทยา ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยใช้ข้อมูลจากระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับการดูอัตราการใส่หน้ากากอนามัยเมื่ออยู่นอกบ้านจากภาพกล้องวงจรปิด เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคโควิด-19 มีผลทำให้คนเสียชีวิตจำนวนมากทั่วโลก และหลายประเทศได้รับความเสียหายด้านเศรษฐกิจ การใส่หน้ากากเป็นวิธีป้องกันการแพร่ระบาดวิธีหนึ่ง ซึ่งได้รับการยอมรับทางการแพทย์ไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ โดยวัฒนธรรม ความตื่นตัว ... -
การเปลี่ยนแปลงของอัตราการใส่หน้ากากอนามัยเมื่ออยู่นอกบ้านในช่วงโควิด-19: การวิเคราะห์จากภาพกล้องวงจรปิดโดยปัญญาประดิษฐ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)ภูมิหลัง: โควิด-19 ได้คร่าชีวิตมนุษย์จำนวนมากและได้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก การใส่หน้ากากเป็นวิธีป้องกันการแพร่ระบาดที่ได้รับการยอมรับทางการแพทย์ แต่อัตราการใส่หน้ากากในแต่ละประเทศกลับไม่เหมือนกัน เนื่องด้วยวัฒนธรรม ... -
การใช้ระบบบูรณาการปัญญาประดิษฐ์และการติดตามการส่งต่อผู้ป่วยในการตรวจคัดกรองภาวะเบาหวานเข้าจอตาแบบแสดงผลการคัดกรองทันที
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)ภาวะเบาหวานเข้าจอตาเป็นภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดขนาดเล็กที่พบได้มากในผู้ป่วยเบาหวาน อีกทั้งยังเป็นสาเหตุสำคัญของภาวะตาบอดในประชากรโลก ดังนั้นการคัดกรองเบาหวานเข้าจอตาจึงเป็นสิ่งสำคัญในระบบสาธารณสุขทั่วโลก อย่างไรก็ตามประเ ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านสุขภาพโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อรับมือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในจังหวัดนครราชสีมา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)ด้วยปัญหาการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง non-communicable diseases ; NCDs ที่พบว่าผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น มีภาวะแทรกซ้อนมากขึ้นและโรคมีความซับซ้อนมากขึ้น รวมทั้งประเทศใช้งบประมาณในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้มากขึ ... -
ความเห็นต่อการประยุกต์ปัญญาประดิษฐ์เพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวังการจำหน่ายและโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ผิดกฎหมายบนแพลตฟอร์มพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ที่มา: ความนิยมใช้แพลตฟอร์มพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้การจำหน่ายและโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอย่างผิดกฎหมายทำได้ง่ายขึ้น วัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเส ... -
จริยธรรมและการอภิบาลปัญญาประดิษฐ์เพื่อสุขภาพ คำแนะนำขององค์การอนามัยโลก
(สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)เอกสารคำแนะนำฉบับนี้ ร่วมกันจัดทำโดยหน่วยจริยธรรมและการอภิบาลสุขภาพขององค์การอนามัยโลกในแผนกวิจัยสุขภาพ และแผนกสุขภาพและนวัตกรรมดิจิทัล โดยมีพื้นฐานจากความเห็นร่วมกันของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญขององค์การอนามัยโลกด้านจริยธรรม ... -
ประสิทธิภาพของแพลตฟอร์ม WOWBOT และสื่อ Chatbot 21 วัน ฟันดีพลัส ในการดูแลสุขภาพช่องปากสำหรับผู้ดูแลเด็ก ช่วงอายุ 6 เดือน - 3.5 ปี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-05)วัตถุประสงค์ : 1. พัฒนา Chatbot Platform สำหรับงานด้านสุขภาพและประเมินความยากง่ายของการใช้งาน 2. เปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างการฝึกแปรงฟันในเด็กจริงโดยผู้ดูแลเด็กร่วมกับการใช้ Chatbot 21 วันฟันดี (ปรับปรุง) (กลุ่มที่ 1) ... -
ปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวคิดและกรอบการวิจัยเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม และเพื่อเสนอวาระวิจัยที่จะตอบสนองการวิจัยในระยะยาวเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว งานวิจัยนี้เก็บข ... -
แพลตฟอร์มกลางสำหรับการสร้างเครื่องมือช่วยเหลือทางจิตใจ เพื่อยกระดับการให้บริการสุขภาพจิตด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์โต้ตอบอัตโนมัติในประเทศไทยด้วยปัญญาประดิษฐ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)แชทบอทปัญญาประดิษฐ์ด้านสุขภาพจิตมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการให้บริการด้านสุขภาพจิตด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น การเข้าถึงง่าย การปิดบังตัวตนและความเป็นส่วนตัว การลดการตีตรา ลดภาระงานของบุคลากรด้านสุขภาพจิต เป็นเครื่องมือให้ ... -
แพลตฟอร์มกลางสำหรับการสร้างเครื่องมือบำบัดทางจิตวิทยาด้วยปัญญาประดิษฐ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)ปัญหาสุขภาพจิตส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและคนใกล้ตัว แม้การดูแลสุขภาพจิตจะมีความสำคัญแต่ก็มีข้อจำกัด เช่น ค่าใช้จ่ายสูง และจำนวนบุคลากรด้านสุขภาพจิตไม่เพียงพอ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพั ... -
แพลตฟอร์มออนไลน์บนมือถือและปัญญาประดิษฐ์แบบเรียนรู้เชิงลึกสำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปาก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)การวิจัยในโครงการแพลตฟอร์มออนไลน์บนมือถือและปัญญาประดิษฐ์แบบเรียนรู้เชิงลึกสำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปากครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนาแพลตฟอร์มออนไลน์สำหรับการเก็บข้อมูลรูปภาพทางคลินิกของรอยโรคที่อาจเปลี่ย ... -
โครงการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการค้นหาวัณโรคเชิงรุก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญระดับโลกนอกจากก่อให้เกิดความสูญเสียทางสุขภาพจากการป่วยและเสียชีวิต ยังเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ผลกระทบเกิดทั้งต่อผู้ป่วย ครอบครัวและคนใกล้ชิด รวมถึงสังคมสูญเสียผลิตภาพและศักยภาพของประชากร ... -
โทรจิต การพัฒนาชุดแบบทดสอบประสาทจิตวิทยาทางไกลอิงเสียงพูดและภาษาแบบอัตโนมัติ ด้วยการเรียนรู้ของเครื่องสำหรับจำแนกผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อยในชุมชนภาคตะวันออก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07-31)การเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุและระบบสาธารณสุขปัจจุบันทำให้ประชาชนโดยทั่วไปอายุยืนยาวขึ้น เช่นเดียวกับจำนวนผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมที่เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย แต่แนวทางที่ได้รับความสนใจในปัจจุบัน คือ การคัดกรองตั้งแต่อยู่ในช ...