เลือกตามผู้แต่ง "กมล แก้วกิติณรงค์"
แสดงรายการ 1-4 จาก 4
-
การพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเกิดเป็นวัณโรคในผู้ป่วยเอชไอวีที่มีการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงด้วยยาสูตรใหม่ ยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินวันละ 1 ครั้ง (4 สัปดาห์) เปรียบเทียบกับยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (12 สัปดาห์) (ปีที่ 1)
อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; ประพันธ์ ภานุภาค; Praphan Phanuphak; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; ฮาน, วิน มิน; Han, Win Min; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat; ศรายุทธ อุตตมางคพงศ์; Sarayuth Uttamangkapong; จิรายุ วิสูตรานุกูล; Jirayu Visuthranukul; ศรีเพชรรัตน์ เมฆวิวัฒนาวงศ์; Sripetcharat Mekviwattanawong; สุพรรณี จิรจริยาเวช; Supunnee Jirajariyavej; ประณิธิ ด่านพรประเสริฐ; Praniti Danpornprasert; วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsanguan; วิรัช กลิ่นบัวแย้ม; Virat Klinbuayaem; พลากร พนารัตน์; Palakorn Panarat; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; Pornpit Treebupachatsakul; ศิริชัย วิวัฒน์โรจนกุล; Sirichai Wiwatrojanagul; พฤฒิพงศ์ หนูเพชร; Preudtipong Noopetch; เพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศักดิ์; Ploenchan Chetchotisakd; ณัชชา แซ่เตียว; Natcha Saetiew; ฐิติสันต์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา; Thitisant Palakawong Na Ayuthaya; เครือทิพย์ จันทรธานีวัฒน์; Kruatip Jantharathaneewat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03-29)วัณโรคยังคงเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิตในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งการติดเชื้อเอชไอวีจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นวัณโรคมากขึ้น (100 เท่า) แม้ว่าการรักษาวัณโรคแฝงสามารถป้องกันการเป็นวัณโรคได้ประมาณ 60-90% แต่สูตรการร ... -
การศึกษาความชุกของวัณโรคแฝงและการให้ยาไอโซไนอะซิดเพื่อป้องกันการเกิดวัณโรคในเรือนจำของประเทศไทย (ปีที่ 1)
กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; วีระกิตติ์ หาญปริพรรณ์; Weerakit Hanparipan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-11)วัณโรค (TB) ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศไทยยังคงติดอับดับหนึ่งในสิบสี่ประเทศที่มีอุบัติการณ์การเกิดวัณโรคสูงสุดซึ่งรายงานโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งประกอบไปด้วยปัญหาวัณโรคทั่วไป, วัณโรคดื้อยาหลายสาย ... -
การศึกษาประสิทธิผล ความปลอดภัย และระดับยาของยาโดลูทิกราเวียร์ 50 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้งร่วมกับอาหาร เปรียบเทียบกับยาโดลูทิกราเวียร์ 50 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้งในผู้ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี-1 ที่เป็นวัณโรค และเริ่มการรักษาด้วยสูตรยาไรแฟมปิน (ปีที่ 1)
อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)เนื่องจากการรับประทานยาไรแฟมปินและยาโดลูเทกราเวียร์ร่วมกันจะทำให้ระดับยาโดลูเทกราเวียร์ลดลง จึงมีคำแนะนำให้รับประทานยาโดลูเทกราเวียร์ วันละ 2 ครั้ง เมื่อมีการใช้ยาร่วมกัน อย่างไรก็ตาม ในผู้ที่มีสุขภาพดี การรับประทานยาโดล ... -
การศึกษาอุบัติการณ์ของการเกิดวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีซีดีสี่ที่ต่างกันหลังได้รับยาต้านไวรัสและนวัตกรรมการอ่านผลการทดสอบทูเบอร์คูลินทางผิวหนังด้วยตัวเองเพื่อคัดกรองหาวัณโรคแฝงในผู้ป่วยเอชไอวี
กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; วรรษมน จันทรเบญจกุล; Watsamon Jantarabenjakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)บทนำ: การให้ยารักษาวัณโรคระยะแฝงในผู้ป่วยเอชไอวีในประเทศไทยยังไม่ได้มีการใช้อย่างแพร่หลายน่าจะเกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย แต่หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญที่สุด คือ แพทย์ส่วนใหญ่คิดว่า การให้ยาต้านไวรัสเพียงอย่างเดียวจะสามารถลดอุบัต ...