เลือกตามผู้แต่ง "นงนุช ใจชื่น"
แสดงรายการ 1-9 จาก 9
-
กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรีของประเทศไทยและต่างประเทศ
นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 ได้บัญญัติว่า เครื่องดื่มใดๆ ที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี ไม่ถือว่าเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จึงมีผลให้เครื่องดื่มดังกล่าวไม่ถูกควบคุมฉลาก การโฆษณาและมาตรการอื่นๆ ภายใต้พระราช ... -
การจำยี่ห้อผลิตภัณฑ์อาหารของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
นงนุช ใจชื่น; พเยาว์ ผ่อนสุข; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Payao Phonsuk; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)หนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเพิ่มขึ้นของภาวะโรคอ้วนในเด็ก คือ การโฆษณาของอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีอิทธิพลต่อความชอบอาหารและพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก การโฆษณาจึงเป็นกลยุทธ์สำคัญทางการตลาดในการสร้างการจดจำยี่ห้ออาหาร โดยมีเป้าหมาย ... -
การซื้อและการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
นงนุช ใจชื่น; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)การบริโภคอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็กส่งผลต่อสุขภาวะรวมถึงการเจ็บป่วย การศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคอาหารของเด็กในประเทศไทยมีไม่มากนัก การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบ ... -
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังการตลาดของผลิตภัณฑ์ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ
นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; ธนพันธ์ สุขสอาด; Thanaphan Suksa-ard; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาสถานการณ์ระบบการควบคุมการทำการตลาดของผลิตภัณฑ์ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ ซึ่งมีอยู่ 4 กลุ่มผลิตภัณฑ์ด้วยกัน คือ อาหารทั่วไป ผลิตภัณฑ์ทดแทนนมแม่ ยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยมีวัตถุประส ... -
การโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มในรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กและเยาวชน: ช่องว่างและวิกฤตการควบคุม
นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)โฆษณาทางโทรทัศน์เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพในการเข้าถึงเด็กและมีอิทธิพลต่อการซื้ออาหารและการบริโภคของเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มทางฟรีทีวี ในช่วงวันและเวลาที่มีรายการสำหรับเด็กและเยาว ... -
ช่องว่างและโอกาสในการควบคุมการตลาดอาหารและเครื่องดื่มของประเทศไทย ตามชุดข้อเสนอแนะขององค์การอนามัยโลกว่าด้วยเรื่องการทำการตลาดอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ในเด็ก
นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; วาทินี คุณเผือก; Watinee Kunpeuk; สิรินทร์ยา พูลเกิด; Sirinya Phulkerd; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Tammarungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)การทำการตลาดและการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล ไขมันและเกลือสูงเป็นปัจจัยแวดล้อมสำคัญที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและสุขภาพของเด็ก การประชุมสมัชชาอนามัยโลกปีพ.ศ.2553 ได้มีมติรับรองชุดข้อเสนอแนะว่าด้วยเรื่อ ... -
วิวัฒนาการของกฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล ไขมันและโซเดียมสูงของประเทศไทยและต่างประเทศ
นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; สิรินทร์ยา พูลเกิด; Sirinya Phulkerd; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamarungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)หนึ่งในมาตรการป้องกันปัญหาการโฆษณาที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมของเด็ก คือ กฎหมายหรือมาตรการในการควบคุมการโฆษณา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนกฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาอาหารและเครื่องด ... -
สถานการณ์ ช่องว่างและโอกาสในการควบคุมการตลาดและการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย
นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)การตลาดและการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยแวดล้อมสำคัญที่มีผลต่อทัศนคติและการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในเยาวชน บทความนี้เป็นการศึกษาสถานการณ์ ช่องว่าง และโอกาสของการควบคุมการตลาดและการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย ... -
สถานการณ์จุดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)การจำหน่ายและความหนาแน่นของร้านจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงและการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์และการปฏิบัติตามกฎหมายของจุดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ...