เลือกตามผู้แต่ง "พรเทพ เกษมศิริ"
แสดงรายการ 1-10 จาก 10
-
การประเมินแบบทดสอบการได้ยินห้านาทีฉบับภาษาไทยในการคัดกรองการได้ยินในชุมชน
ขวัญชนก ยิ้มแต้; พรเทพ เกษมศิริ; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; พิภพ สิริเพาประดิษฐ์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2554)ภาวะการสูญเสียการได้ยินเป็นภาวะที่พบได้บ่อย การสูญเสียการได้ยินส่งผลกระทบต่อการติดต่อสื่อสาร การเข้าสังคม ซึ่งทำให้เกิดปัญหากระทบต่อแผนการดำเนินชีวิต การศึกษา สถานภาพทางอาชีพ สภาพจิตใจเกิดภาวะซึมเศร้า เป็นภาระต่อครอบครัว ... -
การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อการคัดกรองการได้ยินในเด็กปฐมวัยที่เหมาะสม
พศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา; Pasin Israsena; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; Panida Thanawirattananit; พรเทพ เกษมศิริ; Pornthep Kasemsiri; อนุกูล น้อยไม้; Anukool Noymai; สังวรณ์ ศรีสุทัศน์; Sangvorn Seesutas; ธราพงษ์ สูญราช; Tharaphong Soonrach; ศิวัตม์ สายบัว; Siwat Saibua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)โครงการวิจัย เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อใช้คัดกรองการได้ยินในเด็กปฐมวัย ที่มุ่งเน้นให้สามารถคัดกรองได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ และมีราคาประหยัด โดยใช้เทคนิคการคัดกรองการได้ยินโดยการชี้ภาพที่สอดคล้องจากการฟังเสียงพูดภาษาไทย ... -
การพัฒนาเครือข่ายและรูปแบบค้นหาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการทางการได้ยินในชุมชนต่อเนื่องระยะยาว
ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; Panida Thanawirattananit; พรเทพ เกษมศิริ; Pornthep Kasemsiri; ภาธร ภิรมย์ไชย; Patorn Piromchai; ภีม เอี่ยมประไพ; Pheem Leomprapai; สาธิต ก้านทอง; Sathit Kanthong; ชฎาธาร เหลืองสว่าง; Chadarthan Luangsawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)ความพิการทางการได้ยินเป็นปัญหาที่มีพบบ่อยโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ สำหรับประเทศไทยพบว่าสัดส่วนประชากรมีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นทุกปี ปัญหาการเข้าถึงบริการตรวจประเมินความพิการและฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับผู้พิการทางการได้ยินนั ... -
การศึกษาแผนการเพิ่มจำนวนนักเวชศาสตร์การสื่อความหมายและการกระจายตัวที่เหมาะสม
พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; ขวัญชนก ยิ้มแต้; เบญจมาศ พระธานี; พรเทพ เกษมศิริ; ภาธร ภิรมย์ไชย; จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)ประเทศไทยมีปัญหาการขาดแคลนนักเวชศาสตร์การสื่อความหมายซึ่งได้แก่ นักแก้ไขการได้ยิน และนักแก้ไขการพูด อย่างมาก อัตราส่วนของจำนวนนักเวชศาสตร์การสื่อความหมายต่อจำนวนประชากรที่ค่อนข้างต่ำ และมีการกระจายตัวไม่เหมาะสม ... -
คู่มือการค้นหาผู้สูงอายุที่มีความพิการทางการได้ยิน สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
ขวัญชนก ยิ้มแต้; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; พรเทพ เกษมศิริ; ภาธร ภิรมย์ไชย; ภีม เอี่ยมประไพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)ประเทศไทยในปัจจุบันมีผู้สูงอายุจำนวนเพิ่มมากขึ้นจากความก้าวหน้าด้านการแพทย์และด้านสาธารณสุข จนเป็นที่คาดการณ์ว่าปีพ.ศ. 2568 ประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ หนึ่งในปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ คือ ... -
คู่มือการใช้เครื่องช่วยฟังและการดูแล สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
ขวัญชนก ยิ้มแต้; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; พรเทพ เกษมศิริ; ภาธร ภิรมย์ไชย; ภีม เอี่ยมประไพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)หนังสือคู่มือการใช้เครื่องช่วยฟังเล่มนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นสื่อสร้างความเข้าใจและให้คำแนะนำแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้ใช้เครื่องช่วยฟัง ตลอดจนญาติผู้ดูแลให้สามารถใช้งานและดูแลรักษาเครื่องช่วยฟังได้อย่างเหมาะสม ... -
ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 1
พรเทพ เกษมศิริ; สุรเดช จารุจินดา; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; ขวัญชนก ยิ้มแต้; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; สมุทร จงวิศาล; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; มานัส โพธาภรณ์; สุวัจนา อธิภาส; ภาธร ภิรมย์ไชย; ดาวิน เยาวพลกุล; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; เสาวรส ภทรภักดิ์; นภัสถ์ ธนะมัย; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ตุลกานต์ มักคุ้น; สุวิชา แก้วศิริ; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; วันดี ไข่มุกด์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพัฒนาระบบทะเบียนการให้บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประเทศไทย ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะในเวลา 5 ปี ประกอบด้วย ระยะที่ 1 เป็นการสร้างความร่วมมือกำหนดแนวทางมาตรฐานการให้บริการ ... -
ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 2
ภาธร ภิรมย์ไชย; สุรเดช จารุจินดา; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; ขวัญชนก ยิ้มแต้; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; พรเทพ เกษมศิริ; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; สมุทร จงวิศาล; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; มานัส โพธาภรณ์; สุวัจนา อธิภาส; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; ดาวิน เยาวพลกุล; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; เสาวรส ภทรภักดิ์; นภัสถ์ ธนะมัย; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ตุลกานต์ มักคุ้น; สุวิชา แก้วศิริ; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; วันดี ไข่มุกด์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นการรักษาทางเลือกเดียวในปัจจุบัน ซึ่งมุ่งแก้ไขความพิการทางการได้ยินของผู้ที่มีปัญหาการได้ยินทั้งสองข้างในระดับหูหนวกสนิทได้ แต่เนื่องจากการผ่าตัดชนิดนี้โดยเฉพาะอุปกรณ์ประสาทหูเทียมมีค่าใช้จ่าย ... -
ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 3
ภาธร ภิรมย์ไชย; ขวัญชนก ยิ้มแต้; พรเทพ เกษมศิริ; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; เสาวรส ภทรภักดิ์; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; สุวิชา แก้วศิริ; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; สุรเดช จารุจินดา; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; มานัส โพธาภรณ์; ดาวิน เยาวพลกุล; นภัสถ์ ธนะมัย; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; วันดี ไข่มุกด์; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; สมุทร จงวิศาล; สุวัจนา อธิภาส; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; ตุลกานต์ มักคุ้น; นิชธิมา ฉายะโอภาส (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นการรักษาทางเลือกเดียวในปัจจุบัน ซึ่งมุ่งแก้ไขความพิการทางการได้ยินของผู้ที่มีปัญหาการได้ยินทั้งสองข้างในระดับหูหนวกสนิทได้ แต่เนื่องจากการผ่าตัดชนิดนี้โดยเฉพาะอุปกรณ์ประสาทหูเทียมมีค่าใช้จ่าย ... -
ประสิทธิผลของเครื่องช่วยฟังระบบดิจิตอลแบบกล่องที่พัฒนาต้นแบบโดยเนคเทค และต้นทุนของการคัดกรองการได้ยินและบริการเครื่องช่วยฟังในผู้สูงอายุ
ขวัญชนก ยิ้มแต้; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; พรเทพ เกษมศิริ; พศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา; อนุกูล น้อยไม้; พิภพ สิริเพาประดิษฐ์; ภัทรวุฒิ วัฒนศัพท์; สุภวรรณ เลาหศิริวงศ์; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09)ความพิการทางการได้ยินเป็นความพิการที่พบบ่อยและถูกละเลยได้ง่าย เนื่องจากเป็นความพิการที่ซ่อนเร้นมองไม่เห็นจากภายนอก แม้ว่าผู้พิการทางการได้ยินจะมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลและได้รับเครื่องช่วยฟังฟรีจากนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ...