เลือกตามผู้แต่ง "ลือชัย ศรีเงินยวง"
แสดงรายการ 1-20 จาก 24
-
กลุ่มเปราะบางกับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด
ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; ปกรณ์ สิงห์สุริยา; Pagorn Singsuriya; ปิยณัฐ ประถมวงษ์; Piyanat Prathomwong; ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua; สายสุดา วงษ์จินดา; Saisuda Vongjinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)งานเสวนาออนไลน์ “กลุ่มเปราะบาง” กับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด ซึ่งเป็นที่มาของเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ และเป็นส่วนหนึ่งของแผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้ง (Research ... -
การถ่ายโอนสถานีอนามัยสู่ท้องถิ่น: การสังเคราะห์บทเรียนจากกรณีศึกษาพื้นที่ถ่ายโอน และข้อเสนอเชิงนโยบาย
ลือชัย ศรีเงินยวง; ประเชิญ ศิริวรรณ; สายสุดา วงศ์จินดา; สลักจิต ชื่นชม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินและติดตามผลกระทบของการถ่ายโอนสถานีอนามัยสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเชิงการบริหารจัดการการตอบสนองต่อสุขภาพในท้องถิ่น และวิเคราะห์เงื่อนไขและปัจจัยเชิงบริบทที่มีผลต่อความแตกต่างของผลกระทบ ... -
การประเมินผลท้องถิ่นกับการพัฒนาระบบสุขภาพในบริบทการกระจายอำนาจ: การสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย
ลือชัย ศรีเงินยวง; ประเชิญ ศิลาวรรณ; สายสุดา วงษ์จินดา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขคณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555-06-22)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนและทิศทางในอนาคตการถ่ายโอนสถานีอนามัย วันที่ 22 มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี -
การพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและขับเคลื่อนงานของครูข้างถนน ประสบการณ์เรื่องเล่าการทำงานภาคสนามของครูข้างถนน
ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพและอบรมองค์ความรู้ ทักษะแนวทางความคิดเพื่อการทำงานกับเด็กและเยาวชน เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้การทำงานของครูข้างถนนกับเด็กกลุ่มเปราะบาง รวมถึงการค้นหาและข้อจำกัดของระบบและผลั ... -
การพัฒนาศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang; จีรพร แผ้วกิ่ง; อัจฉรา วัฒนาภา; ศุภลัคน์ เลิศมโนรัตน์; ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1. เพื่อวิเคราะห์และทบทวนสถานการณ์การดูแลสุขภาพตนเอง ของปัจเจก ครอบครัว และชุมชน ทั้งในและต่างประเทศ 2. เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในระดับต่างๆ ... -
การวิจัยเพื่อพัฒนาและขับเคลื่อนสุขภาวะของครอบครัวเปราะบางในสังคมไทย
ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; สายสุดา วงษ์จินดา; Saisuda Vongjinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ของครอบครัวไทยจากอดีตถึงปัจจุบันและศึกษานโยบาย มาตรการ กลไกและรูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว เสนอรูปแบบพัฒนางานวิจัยสร้างคุณภาพชีวิตและความเข้มแข็งของครอบครัวใ ... -
การวิเคราะห์ช่องว่างนโยบายการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในประเทศไทย
โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit; ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang; กรรณิการ์ ดาโลดม; Kannika Dalodom; ศิริกาญจน์ ศิริอินต๊ะ; Sirikarn Siriinta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)ในภาพรวมสถานการณ์พัฒนาการเด็กไทยในช่วง 10 ปี ที่มีการดำเนินการนโยบายพัฒนาการเด็กปฐมวัยมาอย่างต่อเนื่อง (2554-2564) แต่ยังพบหลายปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่ดำเนินการได้ยังไม่เต็มประสิทธิภาพและข้อมูลผลล ... -
ข้อเสนอทศวรรษที่ 4 ของการสาธารณสุขมูลฐานไทย
ลือชัย ศรีเงินยวง; ศุภลักษณ์ เลิศมโนรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20) -
ความคิดเห็นของผู้ปกครองต่อการหยอดวัคซีนโปลิโอในเด็กนักเรียน : การศึกษาในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอ
วรนุช วุฒิอุตดม; Woranuch Wuthiutadom; ลือชัย ศรีเงินยวง (ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2541)ความคิดเห็นของผู้ปกครองต่อการหยอดวัคซีนโปลิโอในเด็กนักเรียน: การศึกษาในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญ 4 ประการ คือเพื่อวิเคราะห์สภาพการณ์และปัจจัยกำหนดการปฏิเสธ/ย ... -
ชีวิต สุขภาพ และ การเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมือง: การศึกษากลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานย้ายถิ่นในกรุงเทพมหานคร
ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพและการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมืองในประเทศไทย และเพื่อศึกษาพัฒนาโจทย์วิจัยทางด้านสุขภาพ และการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเ ... -
ติดตามประเมินผลโครงการพัฒนานโยบายการสนับสนุนศักยภาพอสม. สู่การบริการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2553
ลือชัย ศรีเงินยวง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)วัตถุประสงค์ 1. สถานการณ์ปัจจุบันของการดําเนินการ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของอาสามสมัครสาธารณสุขภายใต้โครงการส่งเสริมอาสาสมัครประจําหมู่บ้านเชิงรุกเป็นอย่างไร ในประเด็นของหนึ่งรูปแบบการบริหารจัดการเงินค่าป่วยการ ... -
ทุกข์และการเผชิญทุกข์คนไทยในระบบสุขภาพ
พิมพวัลย์ บุญมงคล; Pimpawan Boonmongkul; ปรารถนา จันทรุพันธุ์; จุรีรัตน์ กิจสมพร; ลือชัย ศรีเงินยวง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การศึกษานี้มุ่งเจาะลึกถึงความทุกข์ มิติของความทุกข์ซึ่งเป็นมุมมองที่มาจากหลายๆ ส่วน ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และทางชีววิทยาหรือกายภาพ การเผชิญและแก้ไขปัญหาความทุกข์ในมิติต่างๆ ที่เป็นผลมาจากระบบสุขภาพในปัจ ... -
ประสบการณ์ต่างแดน ระบบชดเชยความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ลือชัย ศรีเงินยวง; นฤพงศ์ ภักดี; จิราพร ชมศรี; จเร วิชาไทย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-10)หลังเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ประเด็นที่สังคมให้ความสนใจอีกประเด็นหนึ่งคือ การเคลื่อนไหวคัดค้านของแพทย์และกลุ่มวิชาชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุขต่อร่างกฎหมาย “คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข” ... -
พัฒนาการและข้อเสนอทศวรรษที่สี่การสาธารณสุขมูลฐานไทย
ลือชัย ศรีเงินยวง; ศุภลักษณ์ เลิศมโนรัตน์; ยงยุทธ พงษ์สุภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02)เนื้อหาหลักของเอกสารประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนแรกเป็นการทบทวนแก่นสาระของสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนว่า โดยประวัติศาสตร์ความเป็นมาแล้ว แนวคิดของสาธารณสุขมูลฐานเปรียบได้กับคำอธิบายว่าด้วยอริยสัจของสุขภาพ ... -
มดลูก กบูร กับการใช้ยาของผู้หญิงชนบทอิสาน
ลือชัย ศรีเงินยวง (2539)ความเชื่อในวัฒนธรรมอิสานเรื่อง "กบูร" ได้เปิดช่องให้มีการแสวงประโยชน์จากความเชื่อดังกล่าว และนำไปสู่การให้ยาที่ไม่เหมาะสมอย่างสิ้นเปลือง โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะที่จะมีผลต่อสุขภาพในระยะยาว ทั้งในแง่การดื้อยาและผลข้างเคียงป้ายกำกับ:ยอดนิยม -
มิติทางสังคมและวัฒนธรรมของการใช้ยาในชุมชน : การพัฒนาองค์ความรู้จากทฤษฎีและการวิจัย
ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)มิติทางสังคมวัฒนธรรมของการใช้ยาในชุมชน: การพัฒนาองค์ความรู้จากทฤษฎีและการวิจัยการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1) การทบทวนความรู้เกี่ยวกับแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับการใช้ยารักษาตนเองของประชาชน 2) การวิเคราะ ... -
ยากับชุมชน : มิติทางสังคมวัฒนธรรม
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; วิชิต เปานิล; ลือชัย ศรีเงินยวง (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2550-12)หนังสือเรื่อง “ยากับชุมชน: มิติทางสังคมวัฒนธรรม” นี้ เป็นผลลัพธ์ของโครงการทบทวนสถานการณ์การใช้ยาในชุมชน ภายใต้ชื่อโครงการภาษาอังกฤษว่า Situational Analysis: Review of Quality Drug Use in the Community ซึ่งนอกจากการทบทวนก ... -
รายงานฉบับประชาชน ปัญหา ความต้องการ การเข้าถึงบริการของเด็กพิการในชุมชน และสถานการณ์กำลังคนด้านการฟื้นฟูสุขภาพ
วัชรา ริ้วไพบูลย์; โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; ลือชัย ศรีเงินยวง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)หากกล่าวถึงการดูแลระบบสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับคนพิการ/ผู้สูงอายุ เราก็จะได้ยินในเรื่องของการเตรียมพร้อมไปสู่สังคมผู้สูงอายุเสียเป็นส่วนใหญ่ และมีการขับเคลื่อนในประเด็นนี้กันอย่างมาก แต่หากมองในอีกมุมหนึ่ง เด็กในวันนี้คือผู ... -
สถานการณ์ความพิการและการเข้าถึงบริการสุขภาพและบริการที่จำเป็นของรัฐสำหรับเด็กพิการในชุมชน
โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit; ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang; ณรงค์ฤทธิ์ อัศวเรืองพิภพ; Narongrid Asavaroungpipop; ธันวรุจน์ บูรณสุขสกุล; Thanvaruj Booranasuksakul; วนิดา ชนินทยุทธวงศ์; Vanida Chaninyuthwong; วิมลวรรณ ปัญญาว่อง; Wimonwan Panyawong; ธวัลรัตน์ ศรีวิลาส; Thawanrat Sriwilas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ความชุกของเด็กพิการและการเข้าถึงบริการสุขภาพ การศึกษาและสวัสดิการของรัฐสำหรับเด็กพิการในชุมชนเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยข้อมูลเชิงปริมาณได้มาจากการสำรวจเด็กพิการในชุมชนและตรวจปร ... -
สถานการณ์ชีวิตและพฤติกรรมการรักษาตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน
เพ็ญจันทร์ ประดับมุข; ลือชัย ศรีเงินยวง; Penchan Pradubmook; Leuchai Sringern-yuang (2537)"การรักษาโรค" ถ้าหมกมุ่นแต่เพียงการใช้วิทยาการทางชีวการแพทย์ล้วน ก็จะห่างจาก "การรักษาคน" เพราะยังมีมิติทางจิตวิญญาณ มิติทางความเป็นมนุษย์ และมิติทางสังคมเข้ามาเกี่ยวข้องอีกมาก งานวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์ชิ้นนี้เตือนใ ...