เลือกตามผู้แต่ง "สิรินทร์ยา พูลเกิด"
แสดงรายการ 1-8 จาก 8
-
การจำยี่ห้อผลิตภัณฑ์อาหารของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
นงนุช ใจชื่น; พเยาว์ ผ่อนสุข; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Payao Phonsuk; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)หนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเพิ่มขึ้นของภาวะโรคอ้วนในเด็ก คือ การโฆษณาของอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีอิทธิพลต่อความชอบอาหารและพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก การโฆษณาจึงเป็นกลยุทธ์สำคัญทางการตลาดในการสร้างการจดจำยี่ห้ออาหาร โดยมีเป้าหมาย ... -
การซื้อและการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
นงนุช ใจชื่น; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)การบริโภคอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็กส่งผลต่อสุขภาวะรวมถึงการเจ็บป่วย การศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคอาหารของเด็กในประเทศไทยมีไม่มากนัก การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบ ... -
การทบทวนมาตรการทางภาษีและราคาในอาหารและเครื่องดื่มอย่างมีระบบ
สิรินทร์ยา พูลเกิด; ทักษพล ธรรมรังสี; Sirinya Phulkerd; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)นโยบายการคลังมีอิทธิพลต่อราคาอาหารซึ่งเอื้อให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้น อย่างไรก็ตาม หลักฐานเกี่ยวกับการใช้มาตรการทางภาษีและราคาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพของประชาชน รวมถึงผลขอ ... -
ข้อจำกัดและโอกาสในการจัดการกับวิกฤติโรคเรื้อรังในประเทศไทยด้วยมาตรการระดับประชากรตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก
ทักษพล ธรรมรังสี; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุลัดดา พงษ์อุทธา; อรทัย วลีวงศ์; อรรถยา ลิ้มวัฒนายิ่งยง; Thaksaphon Thamarangsi; Siriwan Pitayarangsarit; Prapapun Iam-anan; Sirinya Phulkerd; Suladda Ponguttha; Orratai Waleewong; Attaya Limwattanayingyong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่สุดในประเทศไทย เมื่อพิจารณาจากการเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งของทั้งการเสียชีวิตและการเจ็บป่วย ในรายงานสถานะของโรคไม่ติดต่อปี 2553 ขององค์การอนามัยโลกมีข้อเสนอแนะมาตรการระดับประชากร ... -
ช่องว่างและโอกาสในการควบคุมการตลาดอาหารและเครื่องดื่มของประเทศไทย ตามชุดข้อเสนอแนะขององค์การอนามัยโลกว่าด้วยเรื่องการทำการตลาดอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ในเด็ก
นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; วาทินี คุณเผือก; Watinee Kunpeuk; สิรินทร์ยา พูลเกิด; Sirinya Phulkerd; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Tammarungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)การทำการตลาดและการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล ไขมันและเกลือสูงเป็นปัจจัยแวดล้อมสำคัญที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและสุขภาพของเด็ก การประชุมสมัชชาอนามัยโลกปีพ.ศ.2553 ได้มีมติรับรองชุดข้อเสนอแนะว่าด้วยเรื่อ ... -
ยุทธศาสตร์การจัดการภาวะน้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
สิรินทร์ยา พูลเกิด; ทักษพล ธรรมรังสี; Sirintrya Poolgird; Taksapol Thamrungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาสุขภาพของโลก ความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประเทศไทย เพิ่มสูงขึ้นชัดเจนในประชากรชายและหญิง และปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่สำคัญ ด้วยความสำคัญของวิกฤตภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนต่อสังคมไทย ... -
ระบบการติดตามและจำกัดการทำการตลาดอาหารและเครื่องดื่มในประเทศไทยและต่างประเทศ: ช่องว่าง จุดอ่อนและโอกาสในการพัฒนา
นงนุช จินดารัตนาภรณ์; Nongnuch Jindarattanaporn; สิรินทร์ยา พูลเกิด; Sirinya Phulkerd (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)ระบบการติดตามการตลาดอาหารและเครื่องดื่มมีความสำคัญต่อการควบคุมการตลาดอาหารและเครื่องดื่มของอุตสาหกรรมอาหาร การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการติดตามฯในประเทศไทยและในต่างประเทศ และวิเคราะห์ช่องว่างและโอกาสในการพัฒน ... -
วิวัฒนาการของกฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล ไขมันและโซเดียมสูงของประเทศไทยและต่างประเทศ
นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; สิรินทร์ยา พูลเกิด; Sirinya Phulkerd; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamarungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)หนึ่งในมาตรการป้องกันปัญหาการโฆษณาที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมของเด็ก คือ กฎหมายหรือมาตรการในการควบคุมการโฆษณา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนกฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาอาหารและเครื่องด ...