เลือกตามผู้แต่ง "เพียงขวัญ ศรีมงคล"
แสดงรายการ 1-4 จาก 4
-
การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด
พยอม สุขเอนกนันท์ โอล์สัน; Phayom Sookaneknun Olson; พีรยา ศรีผ่อง; Peeraya Sriphong; จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์; Juntip Kanjanasilp; สายทิพย์ สุทธิรักษา; Saithip Suttiruksa; ธีระพงษ์ ศรีศิลป์; Theerapong Seesin; เปมรินทร์ โพธิสาราช; Pemmarin Potisarach; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piangkwan Srimongkhol; ปะการัง ศรีวะสุทธิ์; Pakarung Sriwasut; นันทนิจ มีสวัสดิ์; Nanthanich Meesawat; ธีระวุฒิ มีชำนาญ; Theerawut Meechumnan; ระพิตราภรณ์ พิพัฒนมงคล; Rapitraporn Pipattanamongkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01-12)การประเมินผลเชิงพัฒนา (developmental evaluation) เป็นวิธีการประเมินที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้วิจัยและผู้ดำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานให้สามารถไปถึงเป้าหมายได้ โดยวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้คือ ... -
การประเมินผลเชิงพัฒนาของโรงพยาบาลมหาสารคาม ภายใต้การประเมินผลโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2
สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; จุฬารัตน์ ฮาดวิเศษ; Jularat Hadwiset; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piangkwan Srimongkhol; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)ในปี 2562 รัฐบาลมีนโยบายโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการฯ ในจังหวัดมหาสารคาม วิธีการวิจัย: วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ศึกษารูปแบบการจัดบ ... -
การศึกษาทบทวนประสิทธิภาพและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการรักษาอาการปวดและอาการอักเสบของยากลุ่ม Selective Cyclooxygenase inhibitors (COX-II inhibitors)
ภัทรินทร์ กิตติบุญญาคุณ; ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง; พีรยา สมสะอาด; ศิริตรี สุทธจิตต์; อารีรัตน์ ลีละธนาฤกษ์; เพียงขวัญ ศรีมงคล (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-06)จากการทบทวนหลักฐานงานวิจัยทางการแพทย์ (Systematic review and Meta-analysis) พบว่ายาในกลุ่ม selective COX-II inhibitors (Meloxicam, Celecoxib, Etoricoxib) มีประสิทธิภาพในการรักษาอาการปวดและอาการอักเสบที่มีสาเหตุจากโรคข้ออ ... -
การออกแบบระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลในยุคปกติวิถีใหม่ของโรงพยาบาลและร้านยาในเขตสุขภาพที่ 7
สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล; Sineenard Mungmanitmongkol; ศิวพร ประเสริฐสุข; Siwapond Prasertsuk; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; ศิริน เพ็ญภินันท์; Sirin Phenphinan; สุภิญญา ตันตาปกุล; Supinya Tuntapakul; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piengkwan Srimongkol; เผ่าพงศ์ เหลืองรัตนา; Paopong Loungrattana; วัชระ ตันศิริ; Watchara Tansiri; ทรัพย์พานิช พลาบัญช์; Suppanich Palabun; เพ็ญทิพา แก้วเกตุทอง; Pentipa Kaewketthong; นิสรา ศรีสุระ; Nissara Srisura; วีรวรรณ รุจิจนากุล; Weerawan Rujijanakul; แฉล้ม รัตนพันธุ์; Chalaem Rattanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)การบริการเภสัชกรรมทางไกล (telepharmacy) เป็นอีกหนึ่งระบบบริการที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพภายใต้สถานการณ์ที่มีโรคระบาดโควิด-19 อีกทั้งยังสามารถสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลด้านสาธารณสุขและเกิดเป็นรูปแบบการบริการท ...