เลือกตามผู้แต่ง "Ammarin Thakkinstian"
แสดงรายการ 1-5 จาก 5
-
การตรวจคัดกรองโรคนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับในหญิงตั้งครรภ์ความเสี่ยงสูงและการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจแรงดันบวก การรักษาแบบสุ่มตัวอย่างในต่างโรงพยาบาล
วิสาข์สิริ ตันตระกูล; Visasiri Tantrakul; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; Ammarin Thakkinstian; อรุณวรรณ พฤทธิพันธุ์; Aroonwan Preutthipan; อติพร อิงค์สาธิต; Atiporn Ingsathit; พัญญู พันธุ์บูรณะ; Panyu Panburana; สมประสงค์ เหลี่ยมสมบัติ; Somprasong Liamsombut; สุรศักดิ์ จันทรแสงอร่าม; Surasak Jantarasaengaram; ศิวพร เลิศพงษ์พิรุฬห์; Siwaporn Lertpongpiroon; ประพันธ์ กิตติวรวิทย์กุล; Prapun Kittivoravitkul; ณัฏฐพล อิ่มสม-สมบูรณ์; Nutthaphon Imsom-Somboon; พุ่มพวง จิรากุล; Poompoung Chirakool; วรกต สุวรรณสถิตย์; Worakot Suwansathit; เจนจิรา เพ็งแจ่ม; Janejira Pengjam; นงลักษณ์ ทับประทุม; Nongluck Thappratoom; สุกัญญา ศิริโยธา; Sukanya Siriyotha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ข้อมูลการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าภาวะนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับขณะตั้งครรภ์จะนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม เช่น ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ครรภ์เป็นพิษ เบาหวานขณะตั้งครรภ์และทารกคลอดก่อนกำหนดและมีข้อมูลว่าการรักษาด้วยเครื่อง ... -
การศึกษาทางระบาดวิทยาของโรคไตเรื้อรังในประเทศไทย
พิสิษฐ์ เวชกามา; Phisitt Vejakama; อติพร อิงค์สาธิต; Atiporn Ingsathit; Attia, John; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; Ammarin Thakkinstian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease, CKD) เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยที่สำคัญของประชากรทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย การศึกษาเกี่ยวกับการดำเนินโรค (CKD progression)ในโรคไตเรื้อรังทั่วโลกยังมีจำกัดโดยเฉพาะในระยะ(CKD stage) ... -
ประสิทธิภาพของการรักษาด้วยการใช้ยาและไม่ใช้ยาในโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมานเครือข่าย
จิตติมา บุญเกิด; Chitima Boongird; อัมรินทร์ ทักขิณเสถียร; Ammarin Thakkinstian; วันนิษา วงษ์พิพัฒน์พงษ์; Wannisa Wongpipathpong; วรพงษ์ เธียรอุกฤษฏ์; Worapong Tearneukit; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)โรคอัลไซเมอร์เป็นสาเหตุที่สำคัญของโรคสมองเสื่อมในปัจจุบันที่กำลังเพิ่มขึ้นทั่วโลก แนวทางการรักษาโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ในปัจจุบันประกอบด้วย การรักษาด้วยการใช้ยาและไม่ใช้ยา ซึ่งมีงานวิจัยที่ศึกษาเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับการรั ... -
อัตราการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานและการศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวกับปัจจัยการนอนหลับและระดับกรดยูริกในเลือดกับระดับ HbA1c ในเลือดในผู้ที่มีภาวะ prediabetes ปีที่ 2
ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์; Dumrongrat Lertrattananon; แสงศุลี ธรรมไกรสร; Sangsulee Thamakaison; สิริมนต์ ริ้วตระกูล; Sirimon Reutrakul; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; Ammarin Thakkinstian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-05)โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบบ่อยในประชากรไทยและมีแนวโน้มที่จะพบสูงขึ้นเรื่อยๆ ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย, โรคเส้นเลือดในสมองตีบและโรคมะเร็ง ดังนั้นการป้องกันไม่ใ ... -
อัตราการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานและการศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวกับปัจจัยการนอนหลับและระดับกรดยูริคในเลือดกับระดับ HbA1c ในเลือดในผู้ที่มีภาวะ pre-diabetes
ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์; Dumrongrat Lertrattananon; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; Ammarin Thakkinstian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบบ่อยในประชากรไทยและมีแนวโน้มที่จะพบสูงขึ้นเรื่อยๆ ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย, โรคเส้นเลือดในสมองตีบ, และโรคมะเร็ง ดังนั้นการป้องกันไม ...