เลือกตามผู้แต่ง "Weerasak Putthasri"
แสดงรายการ 1-19 จาก 19
-
Geographical distribution and utilization of mammography in Thailand
Weerasak Putthasri; Viroj Tangcharoensathien; Suwanna Mugem; Wongdoen Jindawatana (International Health Policy Program, 2547) -
การจัดชุดบริการสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมในนโยบายประกันสุขภาพถ้วนของประเทศไทย
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; ปิยะฉัตร พัชรานุฉัตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การจัดชุดบริการสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมในนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ แนวคิดและประสบการณ์การจัดชุดสิทธิประโยชน์ทางสุขภาพช่องปากและเสนอแนะการจัดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรมที่เหมา ... -
การจัดระบบชดเชยค่าบริการการแพทย์ กรณีสิทธิประโยชน์การป้องกันและรักษาโรคเอชไอวี/เอดส์ สำหรับประชากรต่างด้าวในประเทศไทย
ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaphron; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05-31)การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนที่อาศัยบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการจัดระบบหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลต่างด้าวที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทย เพื่อเข้าถึงบริการสุขภาพ ทั้งนี้ ... -
การจัดระบบและคาดการณ์งบประมาณเพื่อชดเชยค่าบริการทางการแพทย์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กต่างด้าว
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaporn; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ประภาพร นพรัตยาภรณ์; Prapaporn Nopparattayaporn; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-07-31)การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องดังปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษร ในวิสัยทัศน์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รวมถึงแผนแม่บทการแก้ปัญหาและพัฒนาง ... -
การถ่ายทอดหลักฐานวิชาการกิจกรรมทางกายสู่นโยบายการสร้างเมืองที่กระฉับกระเฉง: การทบทวนวรรณกรรมแบบย่อ
ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ หมวดที่ 11 มุ่งมั่นให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน เนื่องด้วยการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วส่งผลต่อการเพิ่มภาระโรคไม่ติดต่ออันเนื่อง ... -
การประเมินการถ่ายโอนหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: สังเคราะห์บทเรียนจากพื้นที่ 51 แห่งและทางเลือกในเชิงนโยบาย
อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; นิธิวัชร์ แสงเรือง; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; วีรศักดิ์ พุทธาศรี; วลัยพร พัชรนฤมล; Anond Kulthanmanusorn; Nithiwat Saengruang; Yaowaluk Wanwong; Hathairat Kosiyaporn; Woranan Witthayapipopsakul; Jaruayporn Srisasalux; Weerasak Putthasri; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02-28)การถ่ายโอนหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหนึ่งในหลายรูปแบบของการกระจายอำนาจด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึงปัจจุบัน กระทรวงสาธารณสุขได้ถ่ายโอนหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังองค์กรปกค ... -
การประเมินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองของไทยด้วยแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก
ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่สี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อ เพื่อแก้ไขปัญหาการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ จึงมีการคิดค้นและสนับสนุนให้มีการปฏิบัติในประเทศไทย ซึ่งได้เน้นความสำคัญของทั้งสังคม ... -
การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูง (Excellence Center) ด้านโรคมะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิมะเร็งชั้นสูง ทั้งในด้านประสิทธิผลของการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ และกระบวนการบริหารจัดการที่ระดับโรงพยาบาล ผลลัพธ์รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น วิธีการศึกษา ... -
การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานในการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ เพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; นาตยา พรหมทอง; Nattaya Promthong; เพ็ญ สุขมาก; Phen Sukmak; วรางคณา นาคเสน; Warangkana Naksen; เสน่ห์ แสงเงิน; Sane Saengngoen; สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; Sirima Mongkolsomlit; พัชนา เฮ้งบริบูรณ์พงศ์ ใจดี; Patchana Hengboriboonpong Jaidee; ฤทธิรงค์ จังโกฏิ; Rittirong Junggoth; วลัญช์ชยา เขตบำรุง; Valanchaya Khetbumrung; สุวิชา ทวีสุข; Suwicha Thaweesook (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)วัตถุประสงค์การศึกษานี้เพื่อศึกษารูปแบบการดำเนินงานในการขับเคลื่อนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยศึกษาจากการดำเนินการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพของ อปท. ในพื้นที่ศึกษา จำนวน 12 แห่ง ... -
การวิเคราะห์สถานการณ์การจัดบริการด้านการศึกษาและงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในโรงเรียนสำหรับเด็กต่างด้าวในประเทศไทย กรณีศึกษาจังหวัดระนอง
ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaporn; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01-31)คุณภาพชีวิตของคนต่างด้าวนับเป็นประเด็นสำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางเช่น เด็กต่างด้าว แม้ว่าปัจจุบันเด็กต่างด้าวที่พำนักในประเทศไทยมีสิทธิได้รับการศึกษาพื้นฐานได้อย่างเท่าเทียมกับเด็กสัญชาติไทย แต่ยังพบว่ามีเด็กต่ ... -
การศึกษาการบริหารจัดการ การดำเนินการของสถานพยาบาลภายใต้นโยบายการให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 มีนาคม 2553
ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; ธัญธิตา วิสัยจร; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิชช์ เกษมทรัพย์; คนางค์ คันธมธุรพจน์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Rapeepong Suphanchaimat; Thunthita Wisaijohn; Parinda Seneerattanaprayul; Weerasak Putthasri; Vijj Kasemsup; Kanang Kantamaturapoj; Supon Limwattananonta (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-07-01)นโยบายระบบประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ ได้รับการอนุมัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพที่จำเป็น และ (2) เพื่อแก้ปัญ ... -
การสังเคราะห์บทบาท และโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของโรงพยาบาลชุมชน วิชาชีพพยาบาลชุมชน และทันตแพทย์ : กรณีศึกษาอำเภอแห่งหนึ่ง
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; วันทนีย์ อุ่นจันทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การศึกษาวิจัยเรื่อง การสังเคราะห์บทบาทและโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของโรงพยาบาลชุมชน วิชาชีพพยาบาลชุมชน ทันตแพทย์:กรณีศึกษาอำเภอแห่งหนึ่ง เป็นการนำเสนอการจัดรูปแบบบริการปฐมภูมิและบทบาทของวิชาชีพ ... -
การสังเคราะห์บทบาท และโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทวิชาชีพ และลักษณะของสถานบริการสุขภาพ : กรณีโรงพยาบาลน้ำพอง
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; วันทนีย์ อุ่นจันทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การสังเคราะห์บทบาทและโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของวิชาชีพ และลักษณะของสถานบริการสุขภาพ: กรณีศึกษาโรงพยาบาลน้ำพองจังหวัดขอนแก่น สรุปได้ดังนี้ 1. โรงพยาบาลน้ำพองได้ยึดแนวคิดการดำเนินงานระดับปฐมภูมิ ... -
การใช้บริการสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 5-14 ปี : การวิเคราะห์การสำรวจระดับชาติแบบภาคตัดขวาง
เพ็ญแข ลาภยิ่ง; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Phenkhae Lapying; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)การศึกษาเชิงพรรณนานี้ต้องการสำรวจการใช้บริการสุขภาพช่องปากของเด็กอายุ 5-14 ปีระหว่างกลุ่มสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งดำเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2544 โดยใช้ฐานข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการใน ... -
ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมทางกายจากการเดินทางและลักษณะทางประชากรของประชาชนในภูมิภาคของประเทศไทย
ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ประโยชน์ทางสุขภาพจากกิจกรรมทางกายสัมพันธ์กับการเดิน การใช้จักรยาน และการใช้ขนส่งสาธารณะ สถาบันการเดินและการจักรยานไทยได้ส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันในหลายจังหวัดตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2560 การศึกษานี้ ... -
ทิศทางการวิจัยเชิงระบบ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล RDU Hospital
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-08-02)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสู่โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ. 2559 วันที่ 1-2 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6-7 ชั้น 5 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ -
ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย พ.ศ. 2543-2546 : ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์; Tares Krassanairawiwong; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; ศิริเกียรติ เหลียงกอบกิจ; Sirikiat Liangkobkit; สมหญิง สายธนู; Somying Saithanu; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย โดยมีผลกระทบทางลบน้อยที่สุดต่อสาธารณสุขของประเทศ การศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา 2 ... -
บทบาทและการปรับตัวของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทยต่อสภาวะก่อนและระหว่างวิกฤติเศรษฐกิจ (พ.ศ. 2539-2544)
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; สมหญิง สายธนู; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Somying Saithanu; Viroj Tangcharoensathien; สำนักงานนโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบวิกฤติเศรษฐกิจที่มีต่อธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน รวมถึงการปรับตัวและผลลัพธ์จากการดำเนินการ ข้อมูลจะประกอบด้วยเอกสารการดำเนินการ รายงานการเงินและการสัมภาษณ์ผู้บริหารของโรงพยาบาลตัวอย่าง ... -
ผลกระทบด้านงบประมาณในการผนวกร้านยาเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
นุศราพร เกษสมบูรณ์; วราภรณ์ ปวงกันทา; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Nusaraporn Kessomboon; Surasit Lochid-amnuay; Waraporn Poungkantha; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)การศึกษารูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลกับร้านยาในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์ผลกระทบด้านงบประมาณ ที่กำหนดให้ร้านยาเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ...