• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การดื้อยาต้านจุลชีพ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 21

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย 

      ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; พรพรรณ กู้มานะชัย; Pornpan Koomanachai; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วลัยพร วังจินดา; Walaiporn Wangchinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ...
    • การควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-25)
      โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ วิจัยประเด็นวิชาการ เศรษฐกิจ และสังคม เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ ...
    • การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul; ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; อธิรัฐ บุญญาศิริ; Adhiratha Boonyasiri; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; ศศิ เจริญพจน์; Sasi Jaroenpoj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยได้ดำเนินการ 10 กิจกรรม ในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ได้แก่ 1) ประมาณการขนาดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ...
    • การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 

      วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี ...
    • การผนวกกลไกการติดตามและประเมินความรู้และความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพเข้าสู่การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ 

      สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; พรรัชดา มาตราสงคราม; Pohnratchada Mattrasongkram; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อภิชาติ ธัญญาหาร; Apichart Thunyahan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นปัญหาระดับโลกที่คุกคามต่อความมั่นคงด้านสาธารณสุขและด้านเศรษฐกิจ มีการคาดการณ์ว่า หากไม่มีการแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง ในอีก 33 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2593) จะมีผู้เสียชีว ...
    • การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2 : บทความวิชาการ 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      รวมบทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2
    • การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 : บทความวิชาการ 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      บทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3
    • การวิเคราะห์สถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช; Luerat Anuratpanich; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; วิศัลย์ มูลศาสตร์; Visal Moolasart; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; ฐิติพงษ์ ยิ่งยง; Thitipong Yingyong; วันทนา ปวีณกิตติพร; Wantana Paveenkittiporn; พิทักษ์ สันตนิรันดร์; Pitak Santanirand; สุกัญญา นำสวัสดิ์; Sukanya Numsawad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพทั้งในและต่างประเทศ ศึกษาอุปสงค์และอุปทานของกำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ และคาดการณ์กำลังคนการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ...
    • การศึกษาการปนเปื้อนและแพร่กระจายของเชื้อ Acinetobacter baumannii ที่ดื้อยาหลายขนานในหอผู้ป่วยเด็กวิกฤตเด็กและหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด 

      นนทพรรณ ผาสุก; Nonthapan Phasuk; เอื้อมพร หมวดเมือง; Auemphon Mordmuang; ชลธิชา รมยะสมิต; Chonticha Romyasamit; กุลวดี กาญจนะ; Kulwadee Karnjana; จันทมณี จิ้วบุญชู; Juntamanee Jewboonchu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      เชื้อ Acinetobacter baumannii (A. baumannii) เป็นแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นสาเหตุสำคัญของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (nosocomial infection) การติดเชื้อ A. baumannii ในโรงพยาบาลเป็นปัญหาสำคัญทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทย เนื่องจากเชื้ ...
    • การหาปริมาณการใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อนในประเทศไทย 

      วลาสินี ศักดิ์คำดวง; Walasinee Sakcamduang; บุญรัตน์ จันทร์ทอง; Boonrat Chantong; ศรินทร์ สุวรรณภักดี; Sarin Suwanpakdee; อนุวัตน์ วิรัชสุดากุล; Anuwat Wiratsudakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2022)
      Antimicrobial resistance (AMR) is becoming more of a problem in both human and veterinary medicine. The major causes of antibiotic resistance include improper antimicrobial usage. Furthermore, antibiotic usage in veterinary ...
    • การเฝ้าระวังการบริโภคยาต้านจุลชีพของประเทศไทย: รากฐานเพื่อการควบคุมเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ 

      คณะวิจัยและพัฒนาระบบติดตามการบริโภคยาต้านจุลชีพของประเทศไทย; Development on Surveillance of Antimicrobial Consumption (SAC) in Human and Animal Project Researcher Team; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นภัยคุกคามที่สำคัญทางสาธารณสุขในปัจจุบันและนับวันจะยิ่งส่งผลทวีความรุนแรงมากขึ้น แม้ว่าการดื้อยาต้านจุลชีพจะเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติ แต่การใช้ยาต้านจุ ...
    • ความชุกของเชื้อแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในสุนัขที่อาศัยอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศ 

      สุขฤทัย บุญมาไสว; Sookruetai Boonmasawai; นรสุทธิ์ บางภูมิ; Norasuthi Bangphoomi; ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์; Sivapong Sungpradit; นรัชพัณญ์ ปะทิ; Naratchaphan Pati; ธีระวิทย์ ตั้งก่อสกุล; Teerawit Tangkoskul; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      มนุษย์และสุนัขที่เป็นสัตว์เลี้ยงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด การสัมผัสโดยตรงระหว่างมนุษย์และสุนัขนั้นอาจเป็นปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเชื้อแบคทีเรียก่อโรคระหว่างกันได้ กลุ่มสัตว์เลี้ยงจึงอาจเป็นปัจจัยที่เกี่ยว ...
    • ความรู้และความตระหนักเรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านสุขภาพและการจัดการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของประเทศไทย 

      วันวิสาห์ แก้วขันแข็ง; Wanwisa Kaewkhankhaeng; ฐิติพร หลาวประเสริฐ; Thitiporn Laoprasert; เสาวภา คชลัย; Saowapa Khotchalai; ศุภภัทร คีรีวรรณ; Supapat Kirivan; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; เจนจิตต์ คงกำเนิด; Janejit Kongkumnerd; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นอุตสาหกรรมทางการเกษตรที่มีความสำคัญต่อความมั่นคงทางอาหาร และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำและรายได้ปานกลาง อย่างไรก็ตาม ในกระบวนการผลิตสัตว์น้ำ เกษตรกรอาจใช้ยาปฏิชี ...
    • คู่มือการประเมินการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการในโรงพยาบาล (EE-AMR Tool, Thailand) 

      สุริยะ วงศ์คงคาเทพ; Suriya Wongkongkathep; อมรรัตน์ วิจิตรลีลา; Amornrat Vijitleela; ณัฐวรรณ พละวุฑิโฒทัย; Nattawan Palavutitotai; ปริชาติ บุญรอด; Parichat Boonrod; นันทิยา สมเจตนากุล; Nuntiya Somjetanakul; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)
      การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นปัญหาระดับโลก เชื้อสามารถสร้างกลไกที่ทำให้เกิดดื้อต่อยาและแพร่กระจายต่อไปได้เป็นวงกว้าง นอกจากนี้เชื้อดื้อยายังสามารถถ่ายทอดรหัสพันธุกรรมดื้อยาไปสู่เชื้อสายพันธุ์อื่นๆ ...
    • บทเรียนจากการขยายผลสู่ความยั่งยืนของโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; กัญญดา อนุวงศ์; Kunyada Anuwong; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      โครงการ Antibiotics Smart Use (ASU) เริ่มในปี พ.ศ. 2550 โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีเป้าหมายเพื่อสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคมในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย งานวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึ ...
    • ปริมาณและมูลค่าการสั่งยาต้านแบคทีเรียแก่ผู้ป่วยนอกในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      ที่มา: การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่สมเหตุผลมีผลทำให้เกิดโรคติดเชื้อที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ เป็นปัญหาทั้งทางสุขภาพและทางเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านแบคทีเรีย (ซึ่งเป็นส่วนหนึ ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      ภาณุมาศ ภูมาศ; สุพล ลิมวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12-20)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยและมีความสำคัญทั้งการติดเชื้อในโรงพยาบาลและการติดเชื้อในชุมชน การติดเชื้อในโรงพยาบาลมักเกิดจากการติดเชื้อที่ดื้อยาต้านจุลชีพ การดื้อยาต้านจุลชีพของ Acinetobactor baumannii, ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย : การศึกษาเบื้องต้น 

      ภาณุมาศ ภูมาศ; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; ภูษิต ประคองสาย; ตวงรัตน์ โพธะ; อาทร ริ้วไพบูลย์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Panumart Phumart; Tuangrat Phodha; Visanu Thamlikitkul; Arthorn Riewpaiboon; Phusit Prakongsai; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      การศึกษานี้ประเมินผลกระทบของการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพต่อสุขภาพและความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศไทยด้วยมุมมองของสังคม โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกระดับและข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล 1,023 ...
    • ผลการรณรงค์โดยใช้ทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงและสื่อกระแสหลักต่อแนวคิดและบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล 

      พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      งานวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการรณรงค์แนวคิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antibiotic Smart Use: ASU) ผ่านสื่อบุคคลและสื่อกระแสหลัก และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกั ...
    • ระบาดวิทยาจีโนมของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli และ Klebsiella pneumoniae ที่ดื้อทั้งยาคาร์บาพีเนมและโคลิสตินที่ก่อการระบาดในโรงพยาบาลของประเทศไทย 

      อนุศักดิ์ เกิดสิน; Anusak Kerdsin; รุจิรัตน์ หาตรงจิตต์; Rujirat Hatrongjit; พีชานิกา ชอบจิตต์; Peechanika Chopjit; ปาริชาติ บัวโรย; Parichart Boueroy; ธิดาทิพย์ วงศ์สุรวัฒน์; Thidathip Wongsurawat; พิรุณ เจนเจริญพันธ์; Piroon Jenjaroenpun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ในการศึกษาวิจัยนี้ได้ดำเนินการถอดรหัสจีโนมเชื้อ จำนวน 116 สายพันธุ์ แบ่งเป็นเชื้อ CRE ที่แยกได้จากคนที่ดื้อยาโคลิสติน หรือมียีนดื้อยาโคลิสตินชนิด mcr จำนวน 100 สายพันธุ์ และเชื้อ Enterobacterales ที่แยกได้จากสัตว์ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV