เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)"
แสดงรายการ 1-20 จาก 609
-
Alcoholism alcoholisten
(โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2551)เยาวชนชอบดูแลอ่านหนังสือการ์ตูน ดังจะเห็นได้ว่าหนังสือการ์ตูนทั้งของไทยและเทศขายดิบขายดี การ์ตูนจึงเป็นสื่อที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จะเข้าถึงความคิดและจิตใจของเยาวชนได้ หนังสือการ์ตูนเล่มนี้จึงเป็นเครื่องมือทางสังคมที่สำคัญ ... -
CUP Management : การบริหารจัดการเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2550-08)หน่วยบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ซึ่งเดิมเป็นบทบาทที่ใช้ในนามของคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.) ฐานะที่เป็นองค์กรบริหารจัดการและพัฒนาระบบสาธารณสุขอำเภอ ซึ่งปัจจุบันมีการใช้คำใหม่ในความหมา ... -
DAD : Differently-Abled Design คู่มือออกแบบสำหรับความสามารถที่แตกต่าง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)DAD “Differently-Abled Design” คู่มือออกแบบสำหรับความสามารถที่แตกต่าง เป็นองค์ความรู้ที่มาจากการถอดบทเรียนการทำงานของกลุ่มสถาปนิกชุมชนที่เข้าไปคลุกคลีกับชุมชนและคนทำงานในพื้นที่ เรียนรู้และอาศัยประสบการณ์จากคนในพื้นที่ ... -
R2R สานสุขการเรียนรู้ในงานประจำ
(โครงการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยาหิดล, 2554-07)หนังสือ “R2R สานสุขการเรียนรู้ในงานประจำ” จัดทำเพื่อใช้เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนขบวนการและเครือข่าย R2R ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ตรงของผู้ที่ได้สัมผัสกิจกรรม R2R จากหลากหลายบทบาทหลากหลายมิติ การทำความเข้าใจ R2R ... -
Taichi and the Blinds ถอดบทเรียนโครงการสร้างเสริมสุขภาพคนพิการทางการเห็นในชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)โครงการสร้างเสริมสุขภาพคนพิการทางการเห็นในชุมชน เป็นโครงการที่มุ่งหวังให้ครูฝึกทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว หรือ O&M ได้สามารถนำเครื่องมือที่เคยได้เรียนรู้จากการอบรมร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ... -
WE ME มีฉัน มีเรา เพราะชีวิต เกี่ยวเนื่องและเชื่อมโยง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นในโลกใบนี้ เรื่องราวทั้งทุกข์และสุข ร้อยยิ้ม หยาดน้ำตา เสียงหัวเราะ การต่อสู้ ความไม่เข้าใจ อึดอัด โกรธ สนุก เกลียด กลัว ผิดหวัง พยายาม ไม่ยอมแพ้ ภูมิใจ สิ่งเหล่านี้ต่างเติมเต็มชีวิตให้มีรสชาติ ... -
กระบวนการดูแลสุขภาพจิตตามวิถีอิสลามของผู้ป่วยระยะสุดท้าย : ผู้ป่วยชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)จากการศึกษาเรื่อง “กระบวนการดูแลสุขภาพจิตตามวิถีอิสลามของผู้ป่วยระยะสุดท้าย : ผู้ป่วยชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบด้วยข้อมูลจากเอกสาร โดยทำการศึกษาจากอัลกุรอาน ... -
กระบวนการบริหารจัดการเพื่อการดูแลผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองในระยะยาวของผู้ดูแล ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01)การวิจัยแบบวิธีวิทยาการสร้างทฤษฎีฐานรากแบบสเตราส์ (Straussian grounded theory approach) นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการเพื่อการดูแลผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดในระยะยาวของผู้ดูแล จากกลุ่มตัวอย่างที่มีประส ... -
กระบวนการสื่อสารการรณรงค์ด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสื่อสารการรณรงค์ขององค์กรภาครัฐ เอกชน ธุรกิจ และท้องถิ่นหรือชุมชน ผู้นำหรือผู้ปฏิบัติงานรณรงค์และกลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยเฉพาะเจาะจง โดยมีเกณฑ์ในการเลื ... -
กระบวนทัศน์เกี่ยวกับสุขภาพและภูมิปัญญาพื้นบ้านเกี่ยวกับสุขภาพ : มุมมองจากทฤษฎีสังคม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)หนังสือเล่มนี้เป็นการรวบรวมและเรียบเรียงแนวความคิดทางทฤษฎีสังคมศาสตร์ที่อาจสามารถนำมาใช้เพื่อศึกษาทำความเข้าใจมิติทางด้านสุขภาพอนามัยของสังคมไทย โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการชี้ประเด็นเบื้องต้นบางประการที่อาจนำมาใช้ศึกษา ... -
กลไกการทำงานของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ signal transduction และพยาธิสภาพของการติดเชื้อไวรัสเดงกี่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)Antibody-dependent enhancement (ADE) เป็นปรากฏการณ์หนึ่งที่สำคัญในการเกิดโรคไข้เลือดออก ที่มีการติดเชื้อไวรัสซ้ำครั้งที่ 2 เซลล์โมโนไซต์เป็นเป้าหมายของการติดเชื้อไวรัสในขบวนการ ADE การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาโปรตี ... -
การกำหนดตำแหน่งที่ตั้งของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตกรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)แนวคิดการพัฒนารูปแบบการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิใกล้บ้านเพื่อดูแลรักษาผู้ป่วยในเบื้องต้นก่อนจะมาโรงพยาบาลเป็นสิ่งหนึ่งที่สามารถช่วยลดปัญหาความแออัดในสถานบริการสาธารณสุขลงได้ โดยในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาด้านทำเลที่ตั้ง ... -
การขยายผลการใช้งานต้นแบบเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเดินหายใจในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)จากที่คณะวิจัยได้มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วยติดเชื้อ (Patient Isolation Chamber for Home & Community Isolation) หรือ “ไฮพีท HI PETE” ขึ้นมาในช่วงสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ... -
การขับเคลื่อนชุมชน: เครื่องมือ และวิธีจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาสุขภาวะชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554) -
การคัดเลือกชุดทดสอบสารหนูภาคสนามสำหรับใช้งานในเขตอำเภอร่อนพิบูลย์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)ปัญหาที่สําคัญของงานสาธารณสุขในปัจจุบันของอำเภอร่อนพิบูลย์ คือ การขาดข้อมูลที่ชี้ให้เห็นถึงการปนเปื้อนของสารหนูหลังจากที่ได้พบการปนเปื้อนสารหนูในน้ำบ่อตื้นในอ.ร่อนพิบูลย์ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2529 เป็นต้นมา ได้มีความพยายามในหลายๆ ... -
การจัดการความรู้พื้นบ้านในการดูแลรักษาอาการที่เกี่ยวเนื่องกับความพิการ กรณีศึกษาอัมพฤกษ์-อัมพาต จังหวัดเชียงใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย, 2549)การจัดการความรู้พื้นบ้านของหมอเมืองในการดูแลรักษาอาการที่เกี่ยวเนื่องกับความอัมพฤกษ์-อัมพาตนั้นไม่ได้แยกความรู้เรื่องนี้ออกมาเพียงอย่างเดียว แต่เป็นความรู้ที่มีลักษณะร่วมกันอยู่หลายความรู้ตามสถานการณ์ความเจ็บป่วยในชุมชน ... -
การจัดการความรู้ยาไทยและยาจากสมุนไพรในโรงพยาบาลชุมชน
(สถาบันสุขภาพวิถีไทย, 2552-08)หนังสือ “การจัดการความรู้ยาไทยและยาจากสมุนไพรในโรงพยาบาลชุมชน” นี้ เป็นผลลัพธ์ของโครงการการจัดการความรู้ยาไทยและยาจากสมุนไพรในโรงพยาบาลชุมชน ซึ่งนอกจากการทบทวนการศึกษาแล้ว ยังมีการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากการสัมภาษณ์ผู้ที ... -
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ กรณีเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง
(สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล, 2553-02)โครงการ “การจัดการความรู้แบบบูรณาการ กรณีเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง” เป็นโครงการที่พัฒนาต่อยอดและบูรณาการทำงานของเครือข่าย 2 เครือข่ายซึ่งมีการดำเนินการอยู่แล้ว คือเครือข่ายเวชปฏิบัติที่ดีทางคลินิกเพื่อการพัฒนาการดูแลโรคเบาหวาน ... -
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : การจัดการระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กรณีเบาหวานและความดันโลหิตสูง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-11)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ... -
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : แนวทางการดูแลรักษาภาวะซึมเศร้าและผู้มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-11)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ...