• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "กำลังคนด้านสุขภาพ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 46

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • กลไกการกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ในประเทศไทย: สภาพการณ์ ปัญหา และข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      ปกป้อง จันวิทย์; Pokpong Junvith; ตะวัน มานะกุล; Tawan Manakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      โครงการวิจัยนี้มุ่งแสวงหาคำตอบว่า ‘แพทยสภา’ ในฐานะกลไกการกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ที่เป็นทางการของไทย สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีธรรมาภิบาล มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล สมดังเจตนารมณ์ในการกำกับควบคุมการประกอบวิชาชีพเ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้า 

      สถาบันพระบรมราชชนก; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้านำเสนอผลการศึกษาการคาดการณ์แนวโน้มระบบสาธารณสุข วิสัยทัศน์ และกลยุทธการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ตลอดจนการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการและการวางแผนกำลังคนสำหรับระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; พุดตาน พันธุเณร; เสกสรรค์ มานวิโรจน์; อติพันธ์ สุวัฒน์เมฆินทร์; อุ่นใจ เครือสถิตย์; ประวีณ นราเมธกุล; วัลภา ภาวะดี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การเปลี่ยนแปลงบริบทของประเทศและนโยบายต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อกำลังคนของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและระบาดวิทยา ส่งผลให้การเจ็บป่วยด้านอุบัติเหตุและฉุกเฉินเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง ...
    • การคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลใน 20 ปี (พ.ศ. 2558-2578) 

      นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; พิศาลสิทธ์ ธนวุฒิ; Pisansit Thanawut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรเป็นข้อมูลสำคัญในการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังเภสัชกร ประเทศไทยมีเภสัชกรทำงานในสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลมากที่สุด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลใน 20 ...
    • การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในระบบยา 

      วรนัดดา ศรีสุพรรณ; Voranadda Srisuphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • การถอดบทเรียนการบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10 

      จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ผู้ป่วย COVID-19 ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้มีการขยายบริการสุขภาพ ซึ่งพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยและบริการสุขภาพด้านอื่นๆ ทำให้มีการบริหารอัตรากำลังและพัฒนาสมรรถนะที่แตกต่างกันตามบริบทของโรงพยาบาล การวิจัยแบบถอดบทเรียนนี ...
    • การทบทวนระบบการผลิตแพทย์ที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของประชาชนภายใต้แผนงานพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ 

      ลลิตยา กองคำ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-09)
      ระบบการผลิตแพทย์นับเป็นปัจจัยหนึ่งที่สําคัญต่อมาตรการด้านอุปทาน(Supply Side) ในการวางแผนกําลังคนด้านสุขภาพของแพทย์ ท่ามกลางปัญหาการขาดแคลนกําลังคนด้านสุขภาพของแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชนบท ตลอดระยะเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมา ...
    • การทบทวนสถานการณ์ระบบการสร้าง พัฒนาและจัดการบุคลากรด้านสาธารณสุขตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2552 และแนวโน้มในอนาคต 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; วิไลลักษณ์ เรืองรัตนตรัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05-31)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเป็นเจตจำนงและพันธะร่วมกันของสังคม เพื่อให้ทุกภาคส่วนใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ ที่ทุกภาคส่วนใช้เป็นกรอบอ้างอิงในการจัดทำแผนโดยพระราช ...
    • การบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Puthasri; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; วลัยพร พัชรนฤมล; Waliporn Patcharanarumol; รายิน อโรร่า; Rajin Arora; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุนโดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่มผู้มีส ...
    • การประชาเสวนาหาทางออกในการพัฒนาระบบการสร้างแรงจูงใจบุคลากรสาธารณสุข เพื่อความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพ 

      วันชัย วัฒนศัพท์; ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ; ภัทรวุฒิ วัฒนศัพท์; ศิรินาถ ตงศิริ; ชนัญญา กาสินพิลา; สุจินันท์ หรสิทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-01)
      วัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาทบทวนทางเลือกของระบบการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับบุคลากรสาธารณสุข เพื่อศึกษาวิเคราะห์ทางเลือกและประมวลผลเพื่อจัดทำภาพอนาคตของระบบการสร้างแรงจูงใจสำหรับบุคลากรสาธารณสุข และเพื่อใช้กระบวนการสานเสวนาหาทา ...
    • การประชุมเชิงปฎิบัติการ สมรรถนะทางวัฒนธรรมในระบบสุขภาพ : องค์ความรู้สู่การวิจัยเชิงคุณภาพ 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557)
      วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะทางวัฒนธรรมให้กับบุคลากรสุขภาพ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม เสริมให้เห็นมุมมองที่ละเอียดอ่อนในมิติของความเป็นมนุษย์และการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • การประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID-19 ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย 

      อนุสรณ์ อุดปล้อง; Anusorn Udplong; ธวัชชัย อภิเดชกุล; Tawatchai Apidechkul; ฟาติมา ยีหมาด; Fartima Yeemard (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพของบุคลากรและระบบสุขภาพในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย ในพื้นที่อำเภอชายแดนจังหวัดเชียงราย คือ ...
    • การพัฒนาประสิทธิภาพทางการคลังที่ยั่งยืนสำหรับระบบหลักประกันสุขภาพ และแบบจำลองการจัดสรรทรัพยากรกำลังคนด้านสุขภาพ 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) พื้นที่การคลังสาธารณสุข: ประมาณการช่องว่างในการกำหนดงบประมาณ (Fiscal Space) ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระบบสาธารณสุข และ 2) การจัดสรรบุคลากร: ศึกษาช่องว่างอุปส ...
    • การวิจัยประเมินผลโครงการอบรมหลักสูตร นักบริหารการแพทย์และสาธารณสุขระดับสูง (นบส.) ผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผบก.) ผู้บริหารการสาธารณสุขระดับต้น (ผบต.) 

      อำพล จินดาวัฒนะ; Amphon Jindawatthana; สุทธิสิทธิ์ ไมตรีจิตร์; วงเดือน จินดาวัฒนะ; วิภาวรรณ อริยานนท์; วารุณี แสงรัตน์โพธิ์สุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • การวิจัยเชิงสังเคราะห์ : การพัฒนาชุดตัวชี้วัดระบบสุขภาพ ติดตาม ประเมินผล เพื่อจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่องกำลังคนด้านสุขภาพ 

      ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)
      จากธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2565 มีเป้าหมายในระยะ 5 ปี เพื่อให้มีการกระจายบุคลากรระหว่างพื้นที่มีความเป็นธรรม มีการปรับการทำงานจากเชิงกายภาพสู่ดิจิทัล และมีระบบการศึกษา การผลิต และการพัฒนากำลังคนด้ ...
    • การวิจัยเพื่อสังเคราะห์ทางเลือก และข้อเสนอเชิงนโยบายในการวางแผนความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศในทศวรรษหน้า 

      ฑิณกร โนรี; โยธิน ถนอมวัฒน์; พุดตาน พันธุเณร; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      กำลังคนด้านสุขภาพ (Human Resources for Health) เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญในระบบสุขภาพ เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการดำเนินงานด้านสุขภาพ เพราะเป็นทั้งผู้สร้างและผู้นำเทคโนโลยีด้านสุขภาพไปใช้ อีกทั้งเป็นผู้บ ...
    • การวิเคราะห์งาน การจัดอัตรากำลัง และความก้าวหน้าของบุคลากรในระดับบริหารในหน่วยงานบริหารสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai; จุรีรัตน์ กิจสมพร; Jureerat KijSomporn; จุฬารัตน์ ห้าวหาญ; สุรศักดิ์ สุนทร; วิไลลักษณ์ เรืองรัตนตรัย; Wilailuk Ruangrattanatrai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06-30)
      รายงานฉบับนี้ จัดทำขึ้น เพื่อรายงานผลการดำเนินงานภายใต้โครงการการวิเคราะห์งาน การจัดอัตรากำลัง และความก้าวหน้าของบุคลากรในระดับบริหารในหน่วยงานบริหารสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค (ระดับเขตบริการสุขภาพ จังหวัด และอำเภอ) ...
    • การศึกษาการวางแผนความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพระดับจังหวัด 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; สัญญา ศรีรัตนะ (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ, 2552)
      ผลการศึกษา ปัจจัยหลักที่เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนได้แก่ข้อมูลประชากรและระบาดวิทยา โดยเห็นชัดว่าประชากรผู้สูงอายุมีสัดส่วนที่สูงขึ้น นอกนั้นสัดส่วนของการเจ็บป่วยเรื้อรังสูงตามมาด้วย ...
    • การศึกษาทบทวนระบบข้อมูลด้านกำลังคนทางสุขภาพและศึกษาข้อมูลด้านกำลังคนทางสุขภาพที่เหมาะสม 

      สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2551)
      การศึกษาทบทวนสถานการณ์ฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพประเทศไทยและต่างประเทศครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทราบสถานการณ์การจัดการฐานข้อมูลระดับประเทศที่มีอยู่ และรูปแบบข้อมูลของต่างประเทศที่มีการเผยแพร่ตาม Internet และสื่อต่างๆ ...
    • การศึกษาประสบการณ์การปฏิรูปของประเทศออสเตรเลียในประเด็น : การประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ ระบบการฟ้องร้องเพื่อชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการรับบริการสุขภาพ การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้บริโภค การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ และข้อเสนอสำหรับประเทศไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ประสบการณ์การปฏิรูปของประเทศออสเตรเลียในประเด็น:การประเมินเทคโนโลยีการแพทย์ ระบบการฟ้องร้องเพื่อชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการรับบริการสุขภาพการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้บริโภค การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ และข้อเสนอแนะ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV