• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 27

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การตรวจสอบคุณภาพการให้รหัสโรคสำหรับการจ่ายชดเชยค่าบริการผู้ป่วยในของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • การประมาณค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคฟันผุ โรคปริทันต์และการสูญเสียฟันในช่องปากของคนไทย 

      รักชนก นุชพ่วง; Rakchanok Noochpoung; สุณี วงศ์คงคาเทพ; Sunee Wongkongkathep; สุกัญญา เธียรวิวัฒน์; Sukanya Tianviwat; นิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา; Nipaporn Urwannachotima; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประเมินภาระของโรคในช่องปากของคนไทย โดยใช้แนวคิดของการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วย การวิเคราะห์ใช้ประมาณการความชุก (prevalence based) ของโรคในช่องปาก จากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติครั้งที่ ...
    • การประเมินการดำเนินการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; วิชุดา โค้วธนพานิช; ไท ชาญกล; ชัชวาล สิมะสกุล; ปาริชาติ พัฒนะเมฆา; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร (2551-10-25)
      ในปี พ.ศ.2535 ประเทศไทยได้ก้าวกระโดดใหญ่อีกครั้งในการปฏิรูประบบการคลังสุขภาพกล่าวคือ การประกาศใช้ พ.ร.บ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 โดยมีเจตนารมย์เพื่อให้ความมั่นใจว่าประชาชนจำนวนกว่าหนึ่งล้านที่ได้รับบาดเจ็บจากการ ...
    • การประเมินการดำเนินการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ : สังเคราะห์นโยบายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      จากเหตุการณ์มหาวิปโยคของครอบครัวผู้ประสบภัยจากรถที่เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน กล่าวกันว่าในวิกฤติมีโอกาส ทำให้เกิดการแปรเปลี่ยนการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถและได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางสาธารณสุขและการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกผ่านทางสายสวน ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง 

      อัญชลี เพิ่มสุวรรณ; Unchalee Permsuwan; วรธิมา อยู่ดี; Voratima Yoodee; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      วัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และภาระด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติก ผ่านทางสายสวนเปรียบเทียบกับการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง วิธีการศึกษา ใช้แบบจำลองแ ...
    • การพัฒนาระบบในการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลจักราช จังหวัดนครราชสีมา 

      โชคชัย มานะธุระ; Chokchai Manatura; โรงพยาบาลจักราช อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา; Jakraj Hospital (โรงพยาบาลจักราช, 2544)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการปฏิบัติงานของโรงพยาบาลจักราช ให้สามารถจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ได้อย่างเหมาะสมและเป็นธรรม และพัฒนาระบบการบริหารจัดการของโรงพยาบาล ให้สามารถจั ...
    • การมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ค่าใช้จ่ายสุขภาพของประเทศที่เพิ่มขึ้น เกินกว่าอัตราที่งบประมาณที่มีอยู่จะเพียงพอให้การสนับสนุน ทำให้เริ่มเกิดคำถามเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ รายงานนี้เป็นการนำเสนอผลการสังเคราะห์ประสบการณ์ต่างประเทศ ...
    • การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอกของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ : กรณีศึกษาของโรงพยาบาลสระบุรี 

      จิระวัฒน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์; นฎา วะสี; วรรณวิภางค์ มานะโชติพงษ์; Jirawat Panpiemras; Nada Wasi; Wanwiphang Manachotphong (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556-06-01)
      งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักสองประการ ประการแรกคือเพื่อทำความเข้าใจถึงสาเหตุของการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอกของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการในโรงพยาบาลสระบุรี ในช่วงปี พ.ศ. 2547-2551 และประการที่สอ ...
    • การศึกษาต้นทุนการจัดบริการสาธารณสุขของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินีและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij; พัลลภ เซียวชัยสกุล; Pallop Siewchaisakul; อำพล บุญเพียร; Aumpol Bunpean; สินีนาฏ ชาวตระการ; Sineenart Chautrakarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบผสมวิธี (Mixed method) ศึกษาค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขในมุมมองผู้ให้บริการทุกรูปแบบของการจัดสรรค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการตามข้อบังคับคณะกรรมการหลักประก ...
    • การศึกษาผลกระทบที่มีต่อประชากรในเขตอำเภอบ้านแพ้ว ภายหลัง การออกนอกระบบราชการ และอยู่ภายใต้การกำกับของรัฐ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลบ้านแพ้ว 

      สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล; Surasak Taneephanitsakul; ยุพา อ่อนท้วม; วิพรรณ ประจวบเหมาะ; วีนัส อุดมประเสริฐกุล; Yupha Aontuam; Wipha Phachuapmuam; Vinus Udomphasertphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      โรงพยาบาลบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกที่ออกนอกระบบราชการ เป็นโรงพยาบาลในกำกับของรัฐเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2543 เก็บค่ารักษาพยาบาลคนละ 40 บาท สำหรับผู้ป่วยนอก และ 100 บาท สำหรับผู้ป่วยใน จึงสมควรศึกษาผลกระ ...
    • การสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของการให้บริการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่มีภาวะไตวายเฉียบพลันในประเทศไทย 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน 4 ...
    • การสำรวจค่าใช้จ่ายการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทย 

      ผลิน กมลวัทน์; Phalin Karmolwat; ศรีประพา เนตรนิยม; Sriprapa Nateniyom; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; มนทรัตน์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พิเชต วงรอต; Phichet Wongrot; บุญเชิด กลัดพ่วง; Booncherd Kladphuang; อรรถกร จันทร์มาทอง; Auttagorn Junmartong; อุบลรัตน์ วาจรัต; Ubonrat Wajarat; วัสนันท์ ขันธชัย; Wassanan Khanthachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional survey) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยวัณโรคและครอบครัวต้องแบกรับ (Out-of-pocket expenditure) เพื่อประเมินอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะวิกฤตทา ...
    • การแถลงข่าวเรื่องทางสว่างของผู้ประสบเหตุจราจร 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      จากประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ซึ่งจากการนำพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถไปใช้มีข้อคำถาม ข้อสงสัยและการบังคับใช้ทางด้านกฎหมาย แถลงข่าว เรื่อง “ทางสว่างของผู้ประสบเหตุจราจร” ในวันพุธที่ ...
    • ค่าใช้จ่ายและการใช้ยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาล : ผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Suraphon Limwatananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Chulaporn Limwattananon; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การประเมินผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อค่าใช้จ่ายและลักษณะการใช้ของ 9 กลุ่มยาในการวิจัยนี้ อาศัยการวิเคราะห์แบบทุติยภูมิสำหรับฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการสั่งใช้ยาแก่ผู้ป่วยนอกระหว่างปีงบประมาณ 2543-2545 ...
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับพิเศษ 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      – วิกฤตการคลังโรงพยาบาลรัฐ : ประเด็นปัญหาและทางออก
    • ตะลึง ผลวิจัยชี้แอลกอฮอล์ส่งผลต่อเศรษฐกิจกว่า 2 แสนล้านบาท 

      กองบรรณาธิการ (2550-12)
    • ต้นทุน-อรรถประโยชน์ของการทำผ่าตัดเอ็นไขว้หน้าโดยการส่องกล้องเข่า (Arthroscopic knee surgery) ในโรงพยาบาลทั่วไประดับ M1 ในเขตสุขภาพที่ 7 

      สุธี ทระกุลพันธ์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; ธนชัย พนาพุฒิ; ธวัชชัย เทียมกลาง; มานะ มีแทน; อิทธิพล สูงแข็ง; จงกลณี จันทรศิริ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ต้องการประเมินต้นทุนและอรรถประโยชน์ของการทำผ่าตัดส่องกล้องเข่าในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเอ็นไขว้หน้าฉีกขาดและ/หรือร่วมกับหมอนรองหัวเข่าแตก (Anterior cruciate ligament injury ...
    • ต้นทุนรายโรคผู้ป่วยจิตเวชตามกลุ่มโรคร่วมของผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Kitti Sanitwankul; Supasit Pannarunothai (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อนึ่งการจัดกลุ่มผู้ป่วยทางจิตเวชเพื่อจัดสรรทรัพยากร ...
    • บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2537-2544 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      ผลการจัดทำบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ ระยะที่ 3 พบว่า รายจ่ายสุขภาพทั้งหมด (Total health expenditure-THE) ของประเทศไทยปีงบประมาณ พ.ศ. 2544 มีมูลค่า ณ ราคาประจำปีเท่ากับ 170,203 ล้านบาท (รวมการสะสมทุน) รายจ่ายสุขภาพของประเ ...
    • ปัจจัยที่มีผลต่อต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และพนักงานส่วนท้องถิ่น 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; ถาวร สกุลพาณิชย์; พัชนี ธรรมวันนา; ภาสกร สวนเรือง; พัฒนาวิไล อินใหม; เขมจรีย์ โรจนพรทิพย์; ประไพร อุตมา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2559)
      ก่อน พ.ศ. 2556 ข้าราชการและพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) แม้จะได้รับสวัสดิการรักษาพยาบาลจากรัฐ มักประสบปัญหาด้านภาระค่าใช้จ่ายจากการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูงเพราะต้องสำรองจ่ายก่อน ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV