เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ต้นทุนต่อหน่วย"
แสดงรายการ 1-20 จาก 59
-
การตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์ ในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์ และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-05)โครงการการตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์สุขภาพในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช) มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (1) ... -
การประเมินความคุ้มค่าการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอชุดสิทธิประโยชน์สำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย โดยรูปแบบของการศึกษาประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากผู้ป่วยโรคตับแ ... -
การประเมินความคุ้มค่าของ Medial Branch Radiofrequency Ablation สำหรับโรคปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังจาก Facet Joints
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย ซึ่งการจี้เส้นประสาทด้วยคลื่นวิทยุความถี่สูง (radiofrequency ablation, RFA) สำหรับผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ... -
การประเมินความคุ้มค่าของการตรวจวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)บทนำ : โรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาในเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทย โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการผิดปกติทางพันธุกรรม ปัจจุบันมีการนำการตรวจรหัสพันธุกรรม Exome Sequencing (ES) มาช่วยในการวินิจฉัยผู้ป่วยเด็กโร ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางสาธารณสุขและการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกผ่านทางสายสวน ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)วัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และภาระด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติก ผ่านทางสายสวนเปรียบเทียบกับการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง วิธีการศึกษา ใช้แบบจำลองแ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้สูงอายุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)ภูมิหลังและเหตุผล: ไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) มีความชุกสูงในประเทศไทยและมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษามาก มีคำแนะนำว่าการคัดกรองความเสี่ยงของภาวะ CKD จะมีประโยชน์ อายุที่มากขึ้นถือเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของการเกิด ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการค้นหาและตรวจวินิจฉัยวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย M. Tuberculosis ส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอด ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่าย ผู้สัมผัสที่อยู่ใกล้ชิดมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคหรือติดเชื้อวัณโรคแฝง ซึ่งมีโอกาสพัฒนาไปเป็นผู้ป่วยวัณโรค ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของสายสวนสลายพังผืดในช่องเหนือไขสันหลังในผู้ป่วยที่มีภาวะปวดไม่หายขาดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวและโรคช่องประสาทไขสันหลังตีบแคบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)ในปัจจุบันหัตถการการใช้สายสวนสลายพังผืด (Percutaneous Epidural Adhesiolysis, PEA) เป็นการรักษาทางเลือกของอาการปวดในกรณีที่ผู้ป่วยโรคช่องประสาทไขสันหลังตีบแคบและผู้ป่วยที่มีภาวะปวดไม่หายขาดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวที ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)บทนำ : จากการจัดลำดับความสำคัญและการคัดเลือกการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ (คู่ยีน-ยา) ที่ควรนำมาพิจารณาประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir ... -
การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอโครงการประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย ซึ่งผ่านการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทบทวนและอ้างอิงหลักฐานทางวิชาการ โดยมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้ท ... -
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ของการตรวจวินิจฉัยโรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นด้วยการทดสอบการนอนหลับแบบละเอียด Polysomnography (PSG) ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)โรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น (obstructive sleep apnea : OSA) เป็นโรคที่พบได้บ่อย สำหรับประเทศไทยมีผลการศึกษา พบว่า มีความชุกของ OSA ร้อยละ 15.4 ในผู้ชาย และร้อยละ 6.3 ในผู้หญิง โรค OSA เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเ ... -
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดตันระยะเฉียบพลันผ่านสายสวนหลอดเลือดด้วยวิธี endovascular treatment ในประชากรไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (Health Intervention and Technology Assessment Program, HITAP) ได้รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์และระบบบริการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้ดำเนินการศึกษาวิจัยในหัวข้อ ... -
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของเทคโนโลยี Next Generation Sequencing (NGS) ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงเฉียบพลันโดยไม่ทราบสาเหตุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)โรคทางพันธุกรรมเป็นหนึ่งในสาเหตุลำดับต้นๆ ของการเสียชีวิตและทุพพลภาพในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงเฉียบพลัน ซึ่งจำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลหรือหอผู้ป่วยวิกฤต การตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีมาตรฐานอาจไม่สามารถแยกโรคได้หรืออาจใช้เ ... -
การประเมินผลกระทบด้านสังคมและปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการการดูแลรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายด้วยวิธีการล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง การล้างไตทางช่องท้องด้วยเครื่องอัตโนมัติ และการใช้น้ำยา icodextrin
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้ขยายบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยเริ่มให้บริการการล้างไตทางช่องท้อง (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis, CAPD) เป็นลำดับแรก ... -
การประเมินผลการให้บริการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของร้านยาในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)บทนำ : บริการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของร้านยาเป็นนโยบายของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เพื่อลดความแออัดของโรงพยาบาลรัฐและทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการ เริ่มมีการให้บริการตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 การประเมิน ... -
การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ของการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกชนิด Sutureless ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)วัตถุประสงค์ : เพื่อประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ ผลกระทบด้าน งบประมาณ และความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติของการผ่าตัด เปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกชนิด Sutureless (Sutureless/Rapid-Deployment Aortic Valve Replacement, SUAVR) ... -
การพัฒนาทางเลือกเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเบิกจ่ายสำหรับมาตรการที่มีราคาแพงในระบบสุขภาพภาครัฐของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)วิทยาศาสตร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพื่อช่วยผู้คน แต่ส่งกระทบต่อความยั่งยืนของระบบสาธารณสุขเช่นกัน ปัจจุบันมีมาตรการด้านสุขภาพที่มีราคาแพง เช่น การคัดกรองยาราคาแพงและผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง (Advanced Therapy Medicinal ...