• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ธรรมาภิบาล"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 21

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • กลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)
      การศึกษาวิจัยเรื่องกลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ โดยเน้นเรื่องบทบาทหน้าที่ขององค์กรควบคุมกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมคือ แพทยสภา ...
    • กลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ: กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      แพทยสภาเป็นองค์กรสำคัญของระบบอภิบาลในระบบสุขภาพ (health system governance) และเป็นสภาวิชาชีพที่ควบคุม กำกับดูแลการประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มีความสำคัญในหลายประเทศ กรณีศึกษาแพทยสภาต่างประเทศคือ ประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ ...
    • การทบทวนระบบธรรมาภิบาลในด้านการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพของประเทศไทย 

      นารีรัตน์ ผุดผ่อง; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์ (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักงานพัฒนานโนบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข, 2559-03)
      การศึกษาเรื่องธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องกับกำลังคนด้านสุขภาพนั้นทั้งในระดับนานาชาติและระดับประเทศนั้นยังมีไม่มาก ในประเทศไทยได้มีการกล่าวถึงเรื่องธรรมาภิบาลกันอย่างกว้างขวางในช่วง 10-20 ปีที่ผ่านมา โดยแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ ...
    • การประเมินผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในกลุ่มผู้มีรายได้น้อย โดยใช้หลักธรรมาภิบาล 

      Jintana Jankhotkaew; Peter Schröder-Bäck; Helmut Brand; Yongyuth Pongsupap; Sumalee Pratoomnun; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; ยงยุทธ พงษ์สุภาพ; สุมาลี ประทุมนันท์ (Health Systems Research Institute, 2554-06)
      การศึกษานี้มุ่งเน้นการประเมินผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในกลุ่มผู้มีรายได้น้อย โดยใช้หลักสี่ประการของหลักธรรมาภิบาลเป็นตัวชี้วัด ผู้ศึกษาได้สัมภาษณ์ผู้วางแผนและนโยบายระบบสาธารณสุขและตัวแทนผู้ป่วยที่ใช้สิทธิในหลักป ...
    • การพัฒนาดัชนีชี้วัดความเชื่อมั่นของประชาชนต่อระบบสุขภาพ 

      โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ที่ต้องการให้มีการสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพที่สมดุลและยั่งยืนและมีระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ มีการใช้เทคโนโลยีอย่างพอประมาณตามห ...
    • การศึกษาทบทวนสถานการณ์ธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ 

      มานวิภา อินทรทัต; อาจยุทธ เนติธนากูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมภิบาลในการจัดระบบสุขภาพให้สมดุลและยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี ดังนั้นจึงต้องทราบถึงสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมภิบาลระบบสุขภาพ จุดประสงค์ของงา ...
    • การสนับสนุนธรรมภิบาลของ อบต.และการมีส่วนร่วมของประชาชน : การเรียนรู้ร่วมกับท้องถิ่น ระยะที่ 2 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; Direk Patamasiriwat; ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ; วรรณา พงษ์ถิ่นทองงาม; วิทยา คามุณี; ครรชิต สุขนาค; ธนวัฒน์ ขวัญบุญ; Natachet Phulcharoen; Wanna Phongthinngam; Witaya Damunee; Khanchit Suknak; Thanawat Khanbun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) เป็นองค์กรน้องใหม่ อยู่ในระยะของการเปลี่ยนผ่าน (transitional state) ซึ่งสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจจากส่วนกลางให้กับท้องถิ่น ในแง่หนึ่งได้มีมาตรการเพิ่มพลังให้ท้องถิ่น (empowerment) ...
    • การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2555 

      สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      การพัฒนาระบบสุขภาพไปสู่ระบบที่พึงประสงค์ หมายถึงการมีระบบต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบย่อย เช่น ระบบสร้างเสริมสุขภาพ ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ เป็นธรรมต่อประชาชน ...
    • การอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550: กรอบแนวคิด พัฒนาการ และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 

      วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมและการปฏิรูปโครงสร้างระบบสุขภาพในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้สร้างความท้าทายใหม่ๆ ในการอภิบาลระบบสุขภาพของประเทศไทย ภายหลังการตั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในปี พ.ศ.2535 มีการจัดตั้ ...
    • ขบวนการแพทย์ชนบทกับการธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; นภนาท อนุพงศ์พัฒน์; ระชา ภุชชงค์ (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ขบวนการแพทย์ชนบทด้วยมุมมองเชิงวิพากษ์ให้ได้มาซึ่งบทเรียน จุดแข็งจุดอ่อน และวิวัฒนาการที่มีผลต่อระบบธรรมาภิบาลสุขภาพไทย โดยมีคำถามวิจัยที่สำคัญคือ ขบวนการแพทย์ชนบทที่มีพัฒนาการกว่า ...
    • คู่มือปฏิบัติการธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      เดชรัต สุขกำเนิด; รุ่งทิพย์ สุขกำเนิด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03-31)
      เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ประเมินใช้เป็นแนวทางในการประเมินธรรมาภิบาลการบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ (สวรส.และเครือสถาบัน) ขณะเดียวกันแนวทางดังกล่าวยังสามารถที่จะช่วยให้หน่วยบริหารจั ...
    • ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      เดชรัต สุขกำเนิด; รุ่งทิพย์ สุขกำเนิด; Decharut Sukkumnoed; Rungthip Sukkumnoed (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      โครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อกำหนดกรอบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล ...
    • ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      เดชรัต สุขกำเนิด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      การดำเนินโครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อส่งเสริมให้การดำเนินงานบริหารจัดการงานวิจัยให้โปร่งใส ...
    • ธรรมาภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • ธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; เอื้องฟ้า สิงห์ทิพย์พันธุ์; Auengpha Singtipphun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      ธรรมาภิบาลในระบบการบริหารจัดการสุขภาพ เป็นกระบวนการหรือระบบที่องค์กรหรือประชาคมใช้ดำเนินการเพื่อให้เกิดระบบบริการสุขภาพที่ดี โดยมีหลักการสำคัญ ได้แก่ การมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม ความโปร่งใส การสนองตอบความต้องการ ...
    • ปัจจัยการอภิบาลระบบที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานเขตสุขภาพเพื่อประชาชนของประเทศไทย 

      สุมาลี เฮงสุวรรณ; Sumalee Hengsuwan; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาระดับการอภิบาลระบบของเขตสุขภาพเพื่อประชาชน บทบาทสำคัญของคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.) ในการอภิบาลระบบและ จัดกลุ่มการอภิบาลระบบของเขตสุขภาพเพื่อประชาชนทั้งประเทศ ...
    • ผลการประเมินกลไกอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ธีระ วรธนารัตน์ (คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ: กรณีศึกษาเขตสุขภาพที่ 3 

      บุญชัย ธีระกาญจน์; Boonchai Theerakarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับประสิทธิผลขององค์การ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและธรรมาภิบาลของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ธรรมาภิบาลและประสิทธิผลของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ...
    • รูปแบบความสัมพันธ์ของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นอย่างมีธรรมาภิบาล 

      กิตติพัฒน์ แสนทวีสุข; Kittipat Saentaweesuk; ดนัย พาหุยุทธ์; ดราภรณ์ เดชพลมาตย์; Danai Pahuyut; Daraporn Detphonmat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ในการวิจัยรูปแบบความสัมพันธ์ของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นอย่างมีธรรมาภิบาล ได้เน้นเพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ที่มีต่อหน่วยราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2566 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2566 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง บทบาทวารสารวิชาการด้านการวิจัยระบบสาธารณสุข โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย และขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาต้นฉบับ นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV