• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "นโยบายด้านสาธารณสุข"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-10 จาก 10

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การทบทวนการเข้าถึงยาจำเป็นที่มีราคาแพงผ่านกระบวนการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ: กรณีบัญชีย่อย จ (2) 

      จุฑาทิพ เลาหเรืองชัยยศ; Jutatip Laoharuangchaiyot; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      ประเทศไทยมี “บัญชียาหลักแห่งชาติ” เป็นเครื่องมือสำคัญในระบบยาของประเทศ กองทุนสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพภาครัฐใช้บัญชียาหลักแห่งชาติเป็นมาตรการอ้างอิงสิทธิประโยชน์ด้านยาเพื่อการเข้าถึงยาของประชาชน บทความนี้เป็นการทบทวนเ ...
    • การประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างสมดุลระหว่างนโยบายสาธารณะด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ากับนโยบายศูนย์กลางบริการสุขภาพ 

      ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551)
      การเคลื่อนไหวในสังคมไทยในการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาปรากฏเด่นชัดมากที่สุดในพื้นที่ของการพัฒนาชนบทและการขจัดปัญหาความยากจน อย่างไรก็ตามความสนใจแสวงหาแนวทางในการประ ...
    • การประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าของวัคซีนโควิดที่พึงประสงค์เพื่อใช้ในการพัฒนาและคัดเลือกวัคซีนสำหรับใช้ในประเทศไทย 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นันทสิทธิ์ เหลืองอาสนะทิพย์; Nantasit Luangasanatip; วิริชดา ปานงาม; Wirichada (Pongtavornpinyo) Pan-ngum; สมภพ ศรลัมพ์; Sompob Saralamba; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; Clapham, Hannah E.; Painter, Christopher Matthew Neil; Yi, Wang; Park, Minah (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04-30)
      นับแต่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 ทำให้มีผู้ติดเชื้อไปแล้วกว่า 100 ล้านคนและเสียชีวิตมากกว่า 2 ล้านคนทั่วโลก ถึงแม้ประเทศไทยจะประสบความสำเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค จากสถานการณ ...
    • การวิจัยประเมินผลกระทบจากนโยบายกัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย ระยะที่ 1 

      บัณฑิต ศรไพศาล; Bundit Sornpaisarn; วรานิษฐ์ ลำใย; Wiaranist Lamyai; เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล; Chet Ratchadapunnathikul; ชัยสิริ อังกุระวรานนท์; Chaisiri Angkurawaranon; นิศาชล เดชเกรียงไกรกุล; Nisachol Dejkriengkraikul; Jürgen Rehm (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2564)
      ด้วยมีความจำเป็นที่จะต้องมีข้อมูลประเมินผลนโยบายที่ดี หลังจากที่ประเทศไทยมีระบบกัญชาทางการแพทย์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2562 ...
    • การวิจัยเชิงสังเคราะห์เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพและเศรษฐศาสตร์ของการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย 

      กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochid-amnuay; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Namfon Sribundit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพและเศรษฐศาสตร์นโยบายกัญชาทางการแพทย์ที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยประกอบด้วยการศึกษา 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ การทบทวนวรรณกรรมเพื่อประเมินผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิ ...
    • การศึกษาสถานการณ์การใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย 

      สาวิตรี อัษณางค์กรชัย; Sawitri Assanangkornchai; กนิษฐา ไทยกล้า; Khanittha Thaikla; มูฮัมมัดฟาห์มี ตาเละ; Muhammad Fahmee Talib; สุชาดา ภัยหลีกลี้; Suchada Paileeklee; ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana; ดาริกา ใสงาม; Darika Saingam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      นับตั้งแต่การออกพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ซึ่งบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 และการนิรโทษการครอบครองกัญชา ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ในวันที่ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านงบประมาณของการใช้ยาสูตร sofosbuvir/velpatasvir ในการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังทุกสายพันธุ์ในประเทศไทย 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      ไวรัสตับอักเสบซี (hepatitis C virus หรือ HCV) เป็นเชื้อไวรัสก่อโรคที่ทำให้ผู้ติดเชื้อมีอาการตับอักเสบ (hepatitis) ติดต่อผ่านทางการรับเลือดและส่วนประกอบของเลือด สามารถก่อให้เกิดอาการเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อยที่หายเองได้ภายในร ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขของการใช้ยาชีววัตถุและยาสังเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรคในการรักษาผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ที่มีภาวะการอักเสบมาก 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; ชลทิชา จันทร์แจ่ม; Chonticha Chanjam; ณัฐกานต์ บุตราช; Nuttakarn Budtarad; วันรัชดา คัชมาตย์; Wanruchda Katchamart; พงศ์ธร ณรงค์ฤกษ์นาวิน; Pongthorn Narongroeknawin; ทัศนีย์ กิตอำนวยพงษ์; Tasanee Kitumnuaypong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของยาต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรค (disease-modifying anti-rheumatic drugs; DMARDs) ในกลุ่มยาชีววัตถุ (biologic DMARDs; bDMARDs) ...
    • ความสำเร็จของการดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 

      นงณภัทร รุ่งเนย; Nongnaphat Rungnoei; ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; นภัส แก้ววิเชียร; Naphas Kaeowichian; เบญจพร สุธรรมชัย; Benjaporn Suthamchai; วิชาญ เกิดวิชัย; Wicharn Girdwichai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางของผู้ป่วยสามกลุ่มโรค ได้แก่ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การบาดเจ็บของสมอง และการบาดเจ็บที่ไขสันหลังตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและ ...
    • ใครบรรลุเป้าหมายระยะทาง 60 กิโลเมตร ใน 60 วัน ของนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินครั้งที่ 1 ของประเทศไทย? การศึกษาภาคตัดขวางของประชาชนไทยวัยผู้ใหญ่ 

      ชลพันธ์ ปิยถาวรอนันต์; Chonlaphan Piyathawornanan; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; พีรยา เพียรเจริญ; Peeraya Piancharoen; อุดม อัศวุตมางกุร; Udom Asawutmangkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      ประเทศไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2563 ผ่านโครงการก้าวท้าใจ โดยมีเป้าหมายที่ระยะทาง 60 กิโลเมตร ใน 60 วัน ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2563 จุดมุ่งหมาย ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV