• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ประกันสังคม"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 23

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • กรอบแนวคิดปัจจัยเชิงประจักษ์ที่สัมพันธ์กับการเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจในระบบประกันสังคม: การประยุกต์ใช้เพื่อขยายความคุ้มครองในระบบประกันสังคม มาตรา 40 ของประเทศไทย 

      สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; ณภูมิ สุวรรณภูมิ; Napoom Suwannapoom; พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์; Phisit Srirattanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การขยายความคุ้มครองของระบบประกันสังคมสู่แรงงานนอกระบบเป็นเป้าหมายสำคัญของหลายประเทศ ประเทศไทยส่งเสริมและขยายความคุ้มครองนี้สู่แรงงานนอกระบบผ่านพระราชบัญญัติประกันสังคมมาตรา 40 ที่เป็นภาคสมัครใจ ...
    • การประเมินความเป็นไปได้และการยอมรับองค์กรเครือข่ายสุขภาพเพื่อการจัดระบบบริการทางการแพทย์ในระบบประกันสังคม: การวิจัยเชิงนโยบาย 

      ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong; บุญสงค์ ทัพชัยยุทธ์; Boonsong Thapchaiyuth; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      องค์กรเครือข่ายสุขภาพ (health maintenance organizations: HMO) เป็นรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจในการตอบโจทย์การพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ของสำนักงานประกันสังคม จึงต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้และแนวโน้มการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วน ...
    • การประเมินทางคณิตศาสตร์การประกันภัย สำหรับร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสมทบ ประเภทของประโยชน์ทดแทน ตลอดจนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขแห่งสิทธิในการรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 พ.ศ.... 

      สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2554-01)
      กำลังแรงงานส่วนใหญ่ของประเทศไทย เป็นแรงงานซึ่งอยู่นอกระบบการจ้างงาน (Informal sector) ประกอบด้วย เกษตรกร ผู้ประกอบอาชีพอิสระ และผู้รับงานไปทำที่บ้าน ประมาณ 24 ล้านคน นั้นสามารถเข้าสู่ระบบประกันสังคมได้โดยสมัครใจ ...
    • การปรับปรุงสิทธิประโยชน์กรณีทันตกรรมกองทุนประกันสังคม 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การวิจัยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับบริการทันตกรรม ความเป็นไปได้ของการขยายสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ของผู้ประกันตนในกองทุนประกันสังคม ตลอดจนการปรับปรุงเปลี่ยนรูปแบบการจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว โดยขั้นตอนการวิจัยประกอบ ...
    • การพัฒนานโยบายและรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยสำหรับสถานประกอบการ ในระบบการจ้างงานและการประกันสุขภาพ 

      ฉัฐญาณ์ วงศ์รัฐนันท์; Chathaya Wongrathanandha; สุมนมาลย์ สิงหะ; Sumonmarn Singha; ลอยลม ประเสริฐศรี; Loylom Prasertsri; เดโช สุรางค์ศรีรัฐ; Decho Surangsrirat; นนทชัย เหมะรัตน์พิทักษ์; Nontachai Hemaratpitak; จิดาภา หาญวรวงศ์ชัย; Jidapa Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรวัยทำงาน การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการนับเป็นช่องทางสำคัญที่จะสามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ จึงจำเป็นต้องหาวิธีส่งเสริมให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ...
    • การมีส่วนร่วมของคนงานในการพัฒนาคุณภาพบริการ ของสถานพยาบาลประกันสังคม 

      บัณฑิตย์ ธนชัยเศรษฐวุฒิ; Bandit Thanachaisethawuti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      การมีส่วนร่วมของคนงานในการพัฒนาคุณภาพบริการของสถานพยาบาลประกันสังคม โครงสร้างการบริหารงานกองทุนประกันสังคมจะเป็นระบบไตรภาคีประกอบด้วยผู้แทน ฝ่ายลูกจ้างฝ่ายนายจ้างและรัฐบาลในรูปของคณะกรรมการการประกันสังคม ซึ่งเป็นผู้มีอำ ...
    • การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างระบบประกันสังคมกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; ขนิษฐา ภูสีมุงคุณ; Khanisthar Phooseemungkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      แม้ว่าประเทศไทยจะมีระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ปัจจุบันยังมีระบบหลักประกันสุขภาพสำคัญ 3 ระบบใหญ่ ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำเพราะมีความเป็นมา การบริหารจัดการ อัตราและวิธีการจ่ายเงินให้สถานพยาบาล ...
    • ความเหลื่อมล้ำระหว่าง 3 กองทุนประกันสุขภาพ ทางออกอยู่หนใด 

      ภูษิต ประคองสาย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • ความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลระหว่าง 3 ระบบหลักประกันสุขภาพสำหรับบริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของสถานพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลด้วยสิทธิการรักษาพยาบาลของแต่ละระบบหลักประกันสุขภาพของรัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทอง (universal coverage scheme, UCS) ...
    • ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิของผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมตามมาตรา 40: กรณีการเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้เมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย 

      สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์; Phisit Srirattanawong; ณภูมิ สุวรรณภูมิ; Napoom Suwannapoom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      การศึกษาโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม ...
    • พฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่ง: การวิเคราะห์จากฐานข้อมูลผู้ประกันตน ของสำนักงานประกันสังคม ระหว่างปี 2561–2563 

      สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์; Phisit Srirattanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่งที่อาจเป็นภาพสะท้อนแนวโน้มการใช้บริการประกันสังคมของแรงงานแพลตฟอร์มที่มีแนวโน้มเป็นที่นิยมข ...
    • ระบบประกันสังคมของไทย 

      ภัทชา ด้วงกลัด (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)
      ระบบประกันสังคมเป็นหลักประกันสังคมสำคัญที่ช่วยให้กำลังแรงงานของประเทศจัดการกับความเสี่ยงในการดำรงชีวิตได้ ซึ่งถือเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ถึงแม้ว่าระบบการประกันสังคมของไทยจะมีมานานกว่า ...
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      สำนักงานประกันสุขภาพ; มูลนิธิเยอรมันเพื่อการพัฒนานานาชาติ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      หนังสือ ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย เป็นการรวบรวมผลการศึกษา ทบทวนประสบการณ์การจัดระบบหลักประกันสุขภาพภายในประเทศไทย ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับใช้เรียนรู้ วิเคราะห์ และวิจัยให้มองเห็นจุดอ่อน จุดแข็ง และจุดเปลี่ยนผ่านที่ ...
    • รูปแบบการบริหารจัดการโรงพยาบาลเพื่อผู้ประกันตน 

      นิพิฐ พิรเวช; ถาวร สกุลพาณิชย์; ครรชิต สุขนาค; สถาพร ปัญญาดี; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; ณัฏฐ์นิธิมา แจ้งประจักษ์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)
      การวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อผู้ประกันตนนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการดำเนินงานและความเป็นไปได้ทางการเงินในการจัดตั้งโรงพยาบาลประกันสังคม โดยใช้กระบวนการวิจัยแบบผสมผสาน ประกอบด้วย การทบทวนเอกสารเกี่ยวกั ...
    • ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรม ระบบสุขภาพมาตรฐานเดียว 

      บุญยืน ศิริธรรม (ผู้แทนกลุ่มภาคประชาสังคม, 2555-05)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2564 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2564 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการเรื่อง บริการสุขภาพปฐมภูมิแบบไร้รอยต่อกับความจริงด้านมาตรฐานข้อมูลสุขภาพที่ผู้คนมักไม่ตระหนัก โดย บุญชัย กิจสนาโยธิน และ ศุภสิทธิ์ ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 8 บทความ ได้แก่ 1) สถานการณ์ร ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง วาระผู้สูงอายุ กับ วาระวิจัยระบบสุขภาพ โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 6 บทความ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลงคุณภาพ ...
    • สาเหตุของการส่งเงินสมทบไม่ต่อเนื่องของผู้ประกันตนตามมาตรา 40: การศึกษาเชิงคุณภาพ 

      สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษาเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุที่ทำให้ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ขาดส่งเงินสมทบหรือส่งเงินสมทบไม่ต่อเนื่อง โดยเก็บข้อมูล 2 วิธี คือ 1) การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์กับอาสาสมัครแรงงานและเครือข่ายประกันสังคมตามมาตรา ...
    • เครื่องมือตรวจรับรองสถานพยาบาลประกันสังคม : คู่มือผู้ประเมิน 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; กิตติ พิทักษ์นิตินันท์; ชูชัย ศรชำนิ; เทียม อังสาชน; ธารารัตน์ ส่งสิทธิกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV