• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ระบบหลักประกันสุขภาพ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 27

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • กลไกการอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ 

      เดือนเด่น นิคมบริรักษ์; Deunden Nikomborirak (มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2556-04-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
    • กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ 

      ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การศึกษาเรื่อง “กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไก กระบวนการร้องเรียน การช่วยเหลือเบื้องต้นประสิทธิภาพ ...
    • การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพที่เหมาะสม 

      ยุพา วงศ์ไชย; สุพร กระจ่างพืช; ศศิชา ว.บาลิการ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพเป็นมาตรการหนึ่งในการสร้างความมั่นคงทางสังคมหลักใหญ่เป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคฯ ประเทศไทยมีกฎหมายกําหนดสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพหลายฉบับ รวมทั้งกําหนดกลไกให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ...
    • การจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค 

      ปิยะฉัตร ชื่นตระกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-09)
      ผลการศึกษาเรื่องการจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกและกระบวนการให้ข้อมูลขององค์กรในระบบหลักประกันสุขภาพ ตลอดจนศึกษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกลไกและกระบวนการ ...
    • การทบทวนวรรณกรรมกระบวนการมองอนาคตที่เกี่ยวข้องกับระบบหลักประกันสุขภาพ 

      นเรศ ดํารงชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)
      การสร้างภาพอนาคต (scenario) เป็นวิธีการมองอนาคต (foresight) อย่างหนึ่งที่มีรากฐานมาจากวิธีการเดียวกันของ future study แต่มีที่จุดเด่นของการมองอนาคตแบบ foresight กล่าวคือเน้นให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมและพยายามประมวลควา ...
    • การประเมินผลการเข้าถึงบริการและการจัดบริการทดแทนไต ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; พิสิษฐ์ เวชกามา; กนกพร ปูผ้า; Vich Kasemsup; Supon Limwattananonta; Chulaporn Limwattananon; Phisitt Vejakama; Kanokporn Poopha (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556-09-01)
      ระบบการให้บริการทดแทนไตในประเทศไทยเป็นระบบที่เรียกได้ว่าถ้วนหน้าคือ ประกันสุขภาพภาครัฐทุกระบบจัดบริการทดแทนไตอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ อย่างไรก็ตามพบว่ายังมีความแตกต่างในรายละเอียดของสิทธิประโยชน์ของแต่ละระบบที่มีความไม่หมือนกันอยู่ ...
    • การพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพชุมชนโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ 

      วณี ปิ่นประทีป (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2552-12)
      เพื่อการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่/ตำบล โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า การจัดการความรู้ โดยดำเนินการในพื้นที่ที่มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ วิธีดำเนินงานของโครงการฯ คือการจัดประชุมแลกเป ...
    • การพัฒนาศักยภาพการทำงานกองทุนสปสช.ขององค์กรภาคีองค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาล ชุมชน และเครือข่ายบริการสุขภาพ 

      ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์ (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2552-12)
      กองทุนสุขภาพหลักประกันสุขภาพแห่งสุขภาพสปสช. ระดับตำบล/ท้องถิ่นเป็นเครื่องมือสำคัญในการทำงานเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้คนไทยทุกคน และเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนเพื่อการมีสุขภาพดี ดังนั้นโครงการ ...
    • การพัฒนาแนวทางอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพ 

      เดือนเด่น นิคมบริรักษ์; วีรวัลย์ ไพบูลย์จิตต์อารี; ธารทิพย์ ศรีสุวรรณเกศ; พรชัย ฬิลหาเวสส (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-01)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาระบบการอภิบาลการคลังสาธารณสุขของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้มีสิทธิในระบบประกันสุขภาพต่างๆ และสามารถสร้างความยั่งยืนทางการเงินของระบบประกันสุขภาพของประเทศได้ ผลการศึกษาพบ ...
    • การวิจัยนโยบายสาธารณะ : ประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่ 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-09)
    • การศึกษาแนวทางการดำเนินงานของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพ 

      วณี ปิ่นประทีป (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2552)
      โครงการศึกษาแนวทางการดำเนินงานของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพ โดย มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) ภายใต้การสนับสนุนจากแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ได้ทำการศึกษากองทุนสวัสดิการชุมชนทั้งหมด 10 ...
    • การสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 

      มูลนิธิแสงสิทธิการ (เพื่อคุณภาพชีวิต) (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2552)
      การดำเนินงานโครงการสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นี้ ได้ดำเนินการโดยมูลนิธิแสงสิทธิการ (เพื่อคุณภาพชีวิต) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ...
    • การสร้างภาพอนาคตระบบและเส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย 

      นเรศ ดํารงชัย; ปวรภัส โพธิสุข; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)
      การสร้างภาพอนาคต (scenario) เป็นวิธีการมองอนาคต (foresight) อย่างหนึ่งที่มีรากฐานมาจากวิธีการเดียวกันของ future study แต่มีที่จุดเด่นของการมองอนาคตแบบ foresight กล่าวคือเน้นให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมและพยายามประมวลควา ...
    • การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างระบบประกันสังคมกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; ขนิษฐา ภูสีมุงคุณ; Khanisthar Phooseemungkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      แม้ว่าประเทศไทยจะมีระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ปัจจุบันยังมีระบบหลักประกันสุขภาพสำคัญ 3 ระบบใหญ่ ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำเพราะมีความเป็นมา การบริหารจัดการ อัตราและวิธีการจ่ายเงินให้สถานพยาบาล ...
    • ความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; พินทุสร เหมพิสุทธิ์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04)
      ความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทยฉบับนี้ เป็นรายงานการสังเคราะห์สถานการณ์ของระบบประกันสุขภาพไทยในปัจจุบัน ที่มาจากรายงานผลการศึกษาต่างๆ และจากข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งหวังจะช่วยสะท้อนก ...
    • จริงหรือไม่? ระบบหลักประกันสุขภาพของไทยอาจล้มละลายจากปัญหาผู้สูงอายุในอนาคตบทวิเคราะห์และทางเลือกเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ 

      ถาวร สกุลพาณิชย์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • ดัชนีชี้วัดเพื่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประชาชนไทย 

      สรพงษ์ วิชกูล; Sorapong Wichakul (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      เพื่อจัดทำตัวชี้วัดทางสุขภาพในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน และความสำเร็จในระบบหลักประกันสุขภาพทั้ง 3 ระบบ (ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและครอบครัว และระบบประกันสังคม) จากฐานข้อมูลผู้ป่วยใน ...
    • ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ต.คือเวียง หนองหล่ม บ้านถ้ำ บ้านปิน อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา 

      มนตรา พงษ์นิล (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03)
    • ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ต.บุ่งคล้า อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ 

      ขนิษฐา นันทบุตร (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03)
    • ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ต.บ้านเป้า อ.เมือง จ.ลำปาง 

      สายฝน น้อยหีด (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03)

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV