• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "สิทธิประโยชน์"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-17 จาก 17

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ...
    • การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ของการตรวจวินิจฉัยโรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นด้วยการทดสอบการนอนหลับแบบละเอียด Polysomnography (PSG) ในประเทศไทย 

      เชิดชัย นพมณีจำรัสเลิศ; Cherdchai Nopmaneejumruslers (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      โรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น (obstructive sleep apnea : OSA) เป็นโรคที่พบได้บ่อย สำหรับประเทศไทยมีผลการศึกษา พบว่า มีความชุกของ OSA ร้อยละ 15.4 ในผู้ชาย และร้อยละ 6.3 ในผู้หญิง โรค OSA เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเ ...
    • การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ของการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกชนิด Sutureless ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบในประเทศไทย 

      อัญชลี เพิ่มสุวรรณ; Unchalee Permsuwan; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ ผลกระทบด้าน งบประมาณ และความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติของการผ่าตัด เปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกชนิด Sutureless (Sutureless/Rapid-Deployment Aortic Valve Replacement, SUAVR) ...
    • การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล; Duangrurdee Wattanasirichaigoon; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; ทิพยวิมล ทิมอรุณ; Thipwimol Tim-Aroon; จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; พลกร กิจศิริวัฒนกุล; Ponlakorn Kitsiriwattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ...
    • การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคเอ็มพีเอสสำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล; Duangrurdee Wattanasirichaigoon; อัจฉรา เสถียรกิจการชัย; Achara Sathienkijkanchai; ทิพยวิมล ทิมอรุณ; Thipwimol Tim-Aroon; จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; ชัยศิริ เหลืองสินศิริ; Chaisiri Luangsinsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคเอ็มพีเอส สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จากการทบทว ...
    • การศึกษาการเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพ ผ่าน Telehealth 

      เอกชัย เพียรศรีวัชรา; Ekachai Piensriwatchara; ภารินี หงส์สุวรรณ; Parinee Hongsuwan; เนตรชนก รัตนเนตร; Netchanok Rattananet; ณัฏฐา ฐานีพานิชสกุล; Nutta Taneepanichskul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นโครงการที่ทำให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการให้ความสำคัญของบริการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค (Promotion and Prevention, P&P) ซึ่งเป็นสิทธิประโยช ...
    • การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย 

      ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; นิจนันท์ ปาณะพงศ์; Nitjanan Pananpong; ศุภณัฐ โชติชวาลรัตนกุล; Supanut Chotichavalrattanakul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วาทินี คุณเผือก; Watinee Kunpeuk; ปวันรัตน์ มิ่งเมือง; Pawanrat Mingmaung; ชญาน์นันท์ ครุตศุทธิพิพัฒนน์; Chayanan Khutsutthipipat; กานติมา วิชชุวรนันท์; Kantima Wichuwaranan; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพ สำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการนำบริการจิตเวชสู่ ...
    • การสร้างและจัดการองค์ความรู้สำหรับการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2566 : สถานการณ์ ความก้าวหน้า ความท้าทายและก้าวต่อไปในอนาคตของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin; Lakhotia, Divya; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; Parinda Seneerattanaprayul; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)
      การประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2566 ทบทวนอดีต และแถลงการณ์สู่อนาคต ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 12-13 ธันวาคม พ.ศ. 2566 เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ...
    • การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างระบบประกันสังคมกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; ขนิษฐา ภูสีมุงคุณ; Khanisthar Phooseemungkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      แม้ว่าประเทศไทยจะมีระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ปัจจุบันยังมีระบบหลักประกันสุขภาพสำคัญ 3 ระบบใหญ่ ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำเพราะมีความเป็นมา การบริหารจัดการ อัตราและวิธีการจ่ายเงินให้สถานพยาบาล ...
    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบาย การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกชนิด Sutureless ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบ 

      อัญชลี เพิ่มสุวรรณ; Unchalee Permsuwan; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      ภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบ (Aortic Stenosis) เป็นภาวะที่มีการปิดกั้นการไหลเวียนของเลือดจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปสู่หลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตาในช่วงที่หัวใจห้องล่างบีบตัว ซึ่งเป็นโรคลิ้นหัวใจที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ สาเหตุเกิดจากก ...
    • งบประมาณของรัฐเพื่อหลักประกันสุขภาพที่อาจถูกควบคุมเข้มงวดมากขึ้นไม่เพียงพอต่อความต้องการในระบบตามกรอบสิทธิประโยชน์ที่กำหนดและระดับของคุณภาพที่คาดหวัง 

      ประวิช สุขุม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)
    • สิทธิประโยชน์ด้านอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการของระบบประกันสุขภาพภาครัฐในประเทศไทย 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการเป็นบริการที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับคนพิการ ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่มีแนวโน้มที่จะเพิ่มจำนวนมากขึ้น สิทธิประโยชน์และบริการดังกล่าวของคนพิการในประเทศไทยมีความไม่เท่าเทียมกันระหว่างระบบประก ...
    • สิทธิประโยชน์ภาคบังคับที่เท่าเทียม (Compulsory Equitable Benefit) หรือสิทธิประโยชน์ที่ให้ทางเลือกผู้บริโภคและเก็บส่วนร่วมจ่าย (Consumer Choice with Cost Sharing) 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)
    • สิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; นิภา ศรีอนันต์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานฉบับนี้พยายามประเมินสถานการณ์และปัญหาในการกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของโครงการประกันสุขภาพต่างๆ ของภาครัฐที่มีอยู่ในประเทศไทยในปัจจุบัน และให้ข้อเสนอแนะแนวทางการกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ...
    • โครงการทบทวนชุดสิทธิประโยชน์และการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasan; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      โครงการทบทวนชุดสิทธิประโยชน์และการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ ซึ่งโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้ดำเนินการวิจัยระหว่างปี พ.ศ. 2556-2557 โดยได้รับทุน ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV