เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "หัดเยอรมัน"
แสดงรายการ 1-3 จาก 3
-
การตอบสนองภูมิต้านทานต่อไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม จากการให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวม DTPa-HB-HIb-IPV หรือ DTPw-HB-Hib+OPV ที่ 2, 4, 6 และ 18 เดือน และ MMR ที่ 9 และ 30 เดือน และระบาดวิทยาภูมิคุ้มกันของโรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม ในประชากรไทย สำหรับการวางแผนหลังจากมีการกวาดล้างโปลิโอ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ประเทศไทยมีแผนการปรับเปลี่ยนการใช้วัคซีนในแผนการให้วัคซีนแห่งชาติในทารก โดยเปลี่ยนวัคซีนรวมชนิด 4 โรค เพิ่มเป็นวัคซีน 5 โรค คือ คอตีบ ไอกรน ทั้งเซลล์บาดทะยัก ตับอักเสบ บี และ วัคซีนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ Hib จากแผนการให้วัค ... -
การศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ เอ บี ซี หัด หัดเยอรมัน คางทูม สุกใส คอตีบ บาดทะยัก และไอกรน ในประชากรจังหวัดชลบุรี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มีในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน (Expanded Program on Immunization, EPI) ได้แก่ โรคไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ... -
การเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในประเทศไทย: กรณีศึกษาของโรคคอตีบ โรคหัด โรคหัดเยอรมัน และโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03-02)การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคในประเทศไทย เริ่มในปี พ.ศ.2520 ผ่านโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization, EPI) เพื่อลดอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากโรคทั่วไปที่ สามารถป้องกันได้ ในช่วงแรกความค ...