• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Evaluation"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 51

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      เอกสารงานวิจัย เรื่อง COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 ฉบับนี้ อยู่ภายใต้โครงการวิจัย การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ...
    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; Chatchavan Janvijit; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; ศิวพร อึ้งวัฒนา; นงเยาว์ อุดมวงศ์; จิตนธี เขนย; นุชยงค์ เยาวพานนท์; มลวิภา ศิริโหราชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตและแนวทางการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เป็นการนำผลการศึกษ ...
    • การจัดทำกลไกการบริหารจัดการและบริการแบบบูรณาการในพื้นที่เขตสุขภาพนำร่อง 

      รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung; อนันตโชค โอแสงธรรมนนท์; Anantachoke Osangthammanont; ดาวุด ยูนุช; Dawud Unuch; ต้องการ จิตเลิศขจร; Tongkarn Jitlerdkajorn; สุทธิ สืบศิริวิริยะกุล; Sutthi Suebsiriviriyakul; ปนัสยา เทพโพธา; Panatsaya Thepphotha; ฉัตรวลี เมธาสถิตย์สุข; Chatwalee Maethastidsook; เศรษฐการ หงษ์ศิริ; Settakarn Hongsiri; วจิตรวดี พุกทอง; Jitwadee Puktong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การดำเนินการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อวิเคราะห์และจัดทำข้อเสนอมาตรการนำร่อง เพื่อสนับสนุนการทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเขตสุขภาพนำร่อง (Regulatory Sandbox) รวมทั้งการกำหนดเกณฑ์/ตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการดำเนินการ ...
    • การตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์ ในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์ และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช) 

      วรพรรณ เสนาณรงค์; Vorapun Senanarong; ชัชวาล รัตนบรรณกิจ; Chatchawan Rattanabannakit; พิพัฒน์ เชี่ยววิทย์; Pipat Chiewvit; ยุทธพล วิเชียรอินทร์; Yudthaphon Vichianin; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; เลิศชาย วชิรุตมางกูร; Leatchai Wachirutmanggur; ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ; Tanyaluck Thientunyakit; เบญจาภา เขียวหวาน; Benjapa Khiewvan; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; ศตนันทน์ มณีอ่อน; Satanun Maneeon; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-05)
      โครงการการตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์สุขภาพในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช) มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (1) ...
    • การถอดบทเรียนมาตรฐานการปฏิบัติงานธรรมนูญตำบลสู้โควิด-19 

      ปวีณา ลิมปิทีปราการ; Pawena Limpiteeprakan; พลากร สืบสำราญ; Phalakorn Suebsamran; นิยม จันทร์นวล; Niyom Junnual; อนันต์ ไชยกุลวัฒนา; Anun Chaikoolvatana; ชลลดา ไชยกุลวัฒนา; Cholada Chaikoolvatana; จงกลนี ศิริรัตน์; Jongkolnee Sirirat; รพินทร์ ยืนยาว; Rapin Yuenyao; วินัย วงศ์อาสา; Winai Wongarsa; วิชิต พุ่มจันทร์; Wichid Pumchan; สุดารัตน์ เวยสาร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      หนังสือเล่มนี้เกิดจากการทำงานร่วมกันของคณะทำงาน ภายใต้โครงการการประเมินประสิทธิภาพการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัส-2019 พื้นที่เขตสุขภาพ 10 ที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระ ...
    • การประเมินการดำเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ตามแนวคิดทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; ธีรพัฒน์ อังศุชวาล; Theerapat Ungsuchaval; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; จุฑามาศ ปิยะวงษ์; Jutamas Piyawong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กานติมา วิชชุวรนันท์; Kantima Wichuwaranan; จุฑามณี สารเสวก; Chuthamanee Sarnsawek; กรวรรณ พูนสวัสดิ์; Korawan Poonsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-19)
      แนวคิด “ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ” หรือ Health in All Policies (HiAP) ได้ถูกกล่าวถึงในฐานะแนวคิดและหลักการ ซึ่งกำหนดอยู่ในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และมีการนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ยังมีช่องว่างขององค์ความรู้ ...
    • การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 

      วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของ Medial Branch Radiofrequency Ablation สำหรับโรคปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังจาก Facet Joints 

      มานิต สิทธิมาตร; Manit Sittimart; Butani, Dimple; ชิตวรรณ พูนศิริ; Chittawan Poonsiri; มันตา กรกฎ; Manta Korakot; ปราโมทย์ เอื้อโสภณ; Pramote Euasobhon; กรวีร์ พสุธารชาติ; Koravee Pasutharnchat; พรพรรณ เฉลิมกิจพานิชย์; Pornpan Chalermkitpanit; ศศิกานต์ นิมมานรัชต์; Sasikaan Nimmaanrat; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย ซึ่งการจี้เส้นประสาทด้วยคลื่นวิทยุความถี่สูง (radiofrequency ablation, RFA) สำหรับผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของการตรวจวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา 

      ปองหทัย บุญสิมมา; Ponghatai Boonsimma; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan; ปานทิพย์ จันทมา; Parntip Juntama; โชติกา สุวรรณพานิช; Chotika Suwanpanich; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochid-amnuay; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Namfon Sribundit; ณัฏฐพล สัมประสิทธิ์; Nathapol Samprasit; วุทธิชาติ กมลวิศิษฎ์; Wuttichart Kamolvisit; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      บทนำ : โรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาในเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทย โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการผิดปกติทางพันธุกรรม ปัจจุบันมีการนำการตรวจรหัสพันธุกรรม Exome Sequencing (ES) มาช่วยในการวินิจฉัยผู้ป่วยเด็กโร ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้สูงอายุ 

      กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; พรชนก ศรีมงคล; Pornchanok Srimongkon; ภาณุมาศ ภูมาศ; Panumart Phumart; อารีรัตน์ ลีละธนาฤกษ์; Areerut Leelathanalerk; วิระพล ภิมาลย์; Wiraphol Phimarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) มีความชุกสูงในประเทศไทยและมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษามาก มีคำแนะนำว่าการคัดกรองความเสี่ยงของภาวะ CKD จะมีประโยชน์ อายุที่มากขึ้นถือเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของการเกิด ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของสายสวนสลายพังผืดในช่องเหนือไขสันหลังในผู้ป่วยที่มีภาวะปวดไม่หายขาดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวและโรคช่องประสาทไขสันหลังตีบแคบ 

      ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; ศุทธินี ไชยแก้ว; Suttinee Chaikaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; กานต์ชนก ศิริสอน; Kanchanok Sirison; ปราโมทย์ เอื้อโสภณ; Pramote Euasobhon; นุช ตันติศิรินทร์; Nuj Tontisirin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      ในปัจจุบันหัตถการการใช้สายสวนสลายพังผืด (Percutaneous Epidural Adhesiolysis, PEA) เป็นการรักษาทางเลือกของอาการปวดในกรณีที่ผู้ป่วยโรคช่องประสาทไขสันหลังตีบแคบและผู้ป่วยที่มีภาวะปวดไม่หายขาดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวที ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ...
    • การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์; Thiranan Anawaj-siriwongs (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจและความต้องการของผู้ใช้งานวิจัยของสวรส. รวมถึงความคิดเห็นต่อยุทธศาสตร์การสร้างงานวิจัยของสวรส. โดยแบ่งกลุ่มผู้ใช้งานวิจัยออกเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มนักวิชาการ ...
    • การประเมินความรู้และการปฏิบัติดูแลรักษาและส่งต่อผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี่ของบุคลากรสาธารณสุขอำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา 

      บุญชัย ธนบัตรชัย; Boonchai Tanabatchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความรู้และการปฏิบัติตามแนวทางการดูแลรักษาและส่งต่อผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี่ โดยทำการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง เก็บข้อมูลโดยการประเมินความรู้โรคไข้เลือดออกเดงกี่ของบุคลากรสาธารณส ...
    • การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของเทคโนโลยี Next Generation Sequencing (NGS) ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงเฉียบพลันโดยไม่ทราบสาเหตุ 

      ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochid-amnuay; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Namfon Sribundit; วุทธิชาติ กมลวิศิษฎ์; Wuttichart Kamolvisit; ลลิดา ก้องเกียรติกุล; Lalida Kongkiattikul; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; ปองหทัย บุญสิมมา; Ponghatai Boonsimma; ณัฏฐพล สัมประสิทธิ์; Nathapol Samprasit; ปานทิพย์ จันทมา; Parntip Juntama; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan; โชติกา สุวรรณพานิช; Chotika Suwanpanich; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      โรคทางพันธุกรรมเป็นหนึ่งในสาเหตุลำดับต้นๆ ของการเสียชีวิตและทุพพลภาพในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงเฉียบพลัน ซึ่งจำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลหรือหอผู้ป่วยวิกฤต การตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีมาตรฐานอาจไม่สามารถแยกโรคได้หรืออาจใช้เ ...
    • การประเมินประสิทธิภาพการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส-2019 พื้นที่เขตสุขภาพ 10 

      ปวีณา ลิมปิทีปราการ; Pawena Limpiteeprakan; พลากร สืบสำราญ; Phalakorn Suebsamran; นิยม จันทร์นวล; Niyom Junnual; ชลลดา ไชยกุลวัฒนา; Cholada Chaikoolvatana; อนันต์ ไชยกุลวัฒนา; Anun Chaikoolvatana; จงกลนี ศิริรัตน์; Jongkolnee Sirirat; รพินทร์ ยืนยาว; Rapin Yuenyao; วินัย วงศ์อาสา; Winai Wongarsa; วิชิต พุ่มจันทร์; Wichid Pumchan; สงกา สามารถ; Songka Samart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 หรือ โรคโควิด-19 (COVID-19) ที่ผ่านมา เขตสุขภาพที่ 10 โดยคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชนเขตพื้นที่ 10 ร่วมกับเครือข่ายสมัชชาสุขภาพทั้ง 5 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ...
    • การประเมินประสิทธิภาพดัชนี Global Dietary Quality Score สำหรับบ่งชี้คุณภาพโดยรวมของการบริโภคอาหารของวัยผู้ใหญ่ไทย เพื่อบูรณาการในระบบการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 

      วันทนีย์ เกรียงสินยศ; Wantanee Kriengsinyos; ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ; Tippawan Pongcharoen; อารีย์ ประจันสุวรรณ; Aree Prachansuwan; พรพรรณ สุขบุญ; Pornpan Sukboon; วีรชาติ ศรีจันทร์; Weerachat Srichan; Bromage, Sabri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)
      Global Diet Quality Score (GDQS) เป็นหนึ่งในดัชนีประเมินภาพรวมของคุณภาพการบริโภคอาหาร ที่ครอบคลุมทั้งด้านความเสี่ยงของการขาดสารอาหารและความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ที่ผ่านมามีการทดสอบความแม่นยำเ ...
    • การประเมินผลกระทบด้านสังคมและปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการการดูแลรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายด้วยวิธีการล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง การล้างไตทางช่องท้องด้วยเครื่องอัตโนมัติ และการใช้น้ำยา icodextrin 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุชาย ศรีทิพยวรรณ; Suchai Sritippayawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้ขยายบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยเริ่มให้บริการการล้างไตทางช่องท้อง (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis, CAPD) เป็นลำดับแรก ...
    • การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : ระยะที่ 1 การประเมินสัญญาณเตือนของผลกระทบต่อสถานะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการศึกษาข้อมูลย้อนหลังและการจัดทำกรณีศึกษา 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; มโน มณีฉาย; Mano Maneechay; ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; นิตย์ธิดา ภัทรธีรกุล; Nittida Pattarateerakun; สุพัสตรา เสนสาย; Supustra Sensai; พัลลภ เซียวชัยสกุล; Pallop Siewchaisakul; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; อุทัยวรรณ แก้วพิจิตร; Uthaiwan Kaewpijit; บุญนริศ สายสุ่ม; Bunnaris Saisum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09-28)
      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อค้นหาสัญญาณเตือนการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้น (early warning sign) หรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดผลกระทบทางสุขภาพที่เชื่อมโยงจากการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.), (2) เพื่อศึกษาการเปล ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ
    • การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระยะที่ 2 การประเมินผลกระทบต่อสถานะสุขภาพและการจัดบริการสุขภาพจากการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบย้อนหลัง และการจัดทำกรณีศึกษา 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; มโน มณีฉาย; Mano Maneechay; ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์; Jirayudh Sinthuphan; พัลลภ เซียวชัยสกุล; Pallop Siewchaisakul; นิตย์ธิดา ภัทรธีรกุล; Nittida Pattarateerakun; สุพัสตรา เสนสาย; Supustra Sensai; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-05)
      โครงการประเมินผลฯ ระยะที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเมินผลกระทบทางสุขภาพที่มีต่อประชาชน อันอาจเป็นผลเชื่อมโยงมาจากการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ในปีงบประมาณ 2566 ทั้งในส่วนของผลกระทบจากการให้บริการสุข ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV