• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Primary Care (Medicine)"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 92

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • กลไกการประมวลสถานการณ์และการสนับสนุนงานวิชาการนโยบายและระบบสุขภาพ: กรณีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; วิมลรัตน์ ถนอมศรีเดชชัย; Wimonrat Tanomsridachchai; ธนินทร์ พัฒนศิริ; Thanin Pattanasiri; ศักดิธัช อิทธิพิสิฐ; Sakditat Ittiphisit; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      โครงการนี้มีจุดประสงค์ที่จะพัฒนารูปแบบหรือกลไกการสนับสนุนทางวิชาการ สำหรับการตัดสินใจประเด็นเชิงนโยบายที่มีความซับซ้อนมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในระยะเวลาที่จำกัด โดยในโครงการนี้จะใช้ประเด็นการถ่ายโอนภารกิจสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ...
    • การกำหนดตำแหน่งที่ตั้งของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตกรุงเทพมหานคร 

      สิริรัตน์ สุวัชรชัยติวงศ์; Sirirat Suwatcharachaitiwong; นิกร ศิริวงศ์ไพศาล; Nikorn Sirivongpaisal; ดลยา บัวคำ; Dollaya Buakum; นาตยา จึงเจริญธรรม; Nattaya Jungcharoentham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)
      แนวคิดการพัฒนารูปแบบการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิใกล้บ้านเพื่อดูแลรักษาผู้ป่วยในเบื้องต้นก่อนจะมาโรงพยาบาลเป็นสิ่งหนึ่งที่สามารถช่วยลดปัญหาความแออัดในสถานบริการสาธารณสุขลงได้ โดยในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาด้านทำเลที่ตั้ง ...
    • การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 

      พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์; Peerasit Kamnuansilpa; ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม; Sirisak Laochankham; กฤชวรรธน์ โล่ห์วัชรินทร์; Grichawat Lowatcharin; ปานปั้น รองหานาม; Panpun Ronghanam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพร้อมของระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่นที่รับถ่ายโอนภารกิจการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่กรณีศึกษา โดยตัวแบบนั้นต้องครอบคลุม ...
    • การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น (ข้อเสนอเชิงนโยบาย) 

      พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์; Peerasit Kamnuansilpa; ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม; Sirisak Laochankham; กฤชวรรธน์ โล่ห์วัชรินทร์; Grichawat Lowatcharin; ปานปั้น รองหานาม; Panpun Ronghanam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น มีวัตถุประสงค์เพื่อ ...
    • การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; เตือนใจ ภูสระแก้ว; Thuanjai Poosakaew; พิทยา ศรีเมือง; Phitthaya Srimuang; รุจิราลักขณ์ พรหมเมือง; Ruchiralak Prommueang; ไพฑูรย์ พรหมเทศ; Paitoon Promthet; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth; รุจี จารุภาชน์; Rujee Charupash (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ ...
    • การจัดระบบดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตสำหรับหน่วยบริบาลปฐมภูมิ 

      สิริภา ช้างศิริกุลชัย; Siribha Changsirikulchai; มยุรี ตั้งเกียรติกำจาย; Mayuree Tangkiatkumjai; ผกาพรรณ บุญเต็ม; Phakapun Boontem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคไตเสื่อมเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) เป็นโรคที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุขของประเทศไทยและนานาชาติ เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื้อรังมาก และมีการดำเนินของโรคจนเข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้องได้ร ...
    • การถอดบทเรียนการดำเนินนโยบายคนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจำตัว 3 คน ใน 4 จังหวัดของประเทศไทย 

      ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree; ชลิดา พลอยประดับ; Chalida Ploypradub; วิชาวี พลอยส่งศรี; Wichavee Ploysongsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      นโยบายคนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจำตัว 3 คน หรือนโยบายสามหมอ เริ่มในปี พ.ศ. 2563 โดยมุ่งเป้าให้คนไทยมีหมอดูแลสุขภาพประจำครอบครัวตั้งแต่ในหมู่บ้าน สถานีอนามัย หรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและโรงพยาบาล ทั้งโรงพยาบาลชุมชนใน ...
    • การถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในเขตสุขภาพที่ 9 

      สุพิตรา เศลวัตนะกุล; Supitra Selavattanakul; ธิดารัตน์ คณึงเพียร; Thidarat Kanungpiarn; สมจิตต์ เวียงเพิ่ม; Somjitt Wiangperm; ชัชฎาพร จันทรสุข; Chutchadaporn Jantarasuk; ควันเทียน วงศ์จันทรา; Kuantean Wongchantra; ชลดา กิ่งมาลา; Chonlada Kingmala (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด–19 ในเขตสุขภาพที่ 9 โดยการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods) เริ่มต้นด้วยวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) ...
    • การบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินีและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กรณีถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 

      เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; นิรัชรา ลิลละฮ์กุล; Niratchara Lillahkul; เจษฎากร โนอินทร์; Jetsadakon Noin; รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; วัลลภา ดิษสระ; Wanlapa Dissara; สายัณต์ แก้วบุญเรือง; Sayan Kaewboonruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      การศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) กรณีถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ ...
    • การประเมินการดำเนินการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน ในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤติระบบสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; อภินันท์ อร่ามรัตน์; Apinun Aramrattana; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; อนุวัตร แก้วเชียงหวาง; Anuwat Kaewchiangwang; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สตางค์ ศุภผล; Satang Supapon; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak; ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ; Piyawan Limpanyalert; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa; นิมิตร์ เทียนอุดม; Nimit Tienudom; นพพรรณ พรหมศรี; Nopphan Promsri; ทัศนีย์ ญาณะ; Tassanee Yana; เกรียงไกร พึ่งเชื้อ; Kriengkrai Peungchuer; พลวัฒน์ ทศวิภาค; Ponrawat Thotwiphak; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2564 นำไปสู่ปัญหาวิกฤติระบบสุขภาพในกรุงเทพมหานครที่ผู้ป่วยหนักไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ...
    • การประเมินความเป็นไปได้และการยอมรับองค์กรเครือข่ายสุขภาพเพื่อการจัดระบบบริการทางการแพทย์ในระบบประกันสังคม: การวิจัยเชิงนโยบาย 

      ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong; บุญสงค์ ทัพชัยยุทธ์; Boonsong Thapchaiyuth; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      องค์กรเครือข่ายสุขภาพ (health maintenance organizations: HMO) เป็นรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจในการตอบโจทย์การพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ของสำนักงานประกันสังคม จึงต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้และแนวโน้มการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วน ...
    • การประเมินรูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในจังหวัดขอนแก่น 

      พิทยา ศรีเมือง; Phitthaya Srimuang; จรียา ยมศรีเคน; Jareeya Yomseeken; ฐิติกานต์ เอกทัตร์; Thitikan Ekathat; วรรณศรี แววงาม; Wanasri Wawngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      บริการสุขภาพปฐมภูมิถือเป็นระบบสำคัญของบริการที่มีคุณภาพเพื่อทำให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินกระบวนการและระบบสนับสนุนขององค์กร รวมทั้งเปรียบเทียบกระบวนการและระบบสนับสนุนขององค์กรกั ...
    • การประเมินเชิงพัฒนาการเข้าถึงและคุณภาพบริการดูแลระยะกลาง การปฏิรูประบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในกรุงเทพมหานคร 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsup; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; ปวินท์ ศรีวิเชียร; Pawin Sriwichian; ธนพร จันทโรหิต; Tanaporn Chandharohit; มธุริน จันทร์ทองศรี; Maturin Juntongsree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-02)
      การดูแลระยะกลาง หรือ intermediate care (IMC) คือการดูแลผู้ป่วยที่ผ่านพ้นระยะเฉียบพลัน (acute phase) และมีอาการคงที่ แต่ยังคงมีความบกพร่องทางร่างกายบางส่วนที่จำกัดการทำกิจวัตรประจำวัน และการมีส่วนร่วมในสังคม เช่น ...
    • การพัฒนาข้อเสนอแนวทางการบริหารจัดการของกองทุนประกันสุขภาพในการจัดสรรงบประมาณให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่ถ่ายโอนไปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij; นภัทร บุญเทียม; Napat Boontiam; พรทิพย์ แก้วสิงห์; Pornthip Kaewsing; อำพล บุญเพียร; Aumpol Bunpean; ธีระศักดิ์ วงศ์ใหญ่; Dherasak Wongyai; ญาณันธร กราบทิพย์; Yananthorn Krabthip; หรรษา ชื่นชูผล; Hunsa Chuencupol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนการกระจายอำนาจและแผนปฏิบัติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กำหนดให้สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขถ่ายโอนภารกิจด้านการให้บริการปฐมภูมิที่อยู่กับสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ...
    • การพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง 

      อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี; Achakorn Wongpreedee; ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; กิตติพงษ์ เกิดฤทธิ์; Kittipong Kerdrit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      วรรณกรรมและงานวิจัยเกี่ยวกับการกระจายอำนาจได้ส่งสัญญาณเตือนว่า การกระจายอำนาจที่ไม่ได้พิจารณาบริบทเฉพาะของแต่ละประเทศจะก่อให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์ ดังนั้น การออกแบบแนวทางการกระจายอำนาจให้สอดคล้องกับบริบทความจำเป็นของแต่ ...
    • การพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัดและแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชน: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรีและองค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี 

      ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; โกเมนทร์ ทิวทอง; Komain Tewtong; อนุวัตร แก้วเชียงหวาง; Anuwat Kaewchiangwang; ทองดี มุ่งดี; Tongdee Mungdee; บัณฑิต ตั้งเจริญดี; Bundit Tungcharoendee; ภัชร์จิรัสม์ ธัชเมฆรัตน์; Pachjirat Thachmakerat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นไปตามความพร้อมและความสมัครใจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีองค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 แห่ง ที่รับถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ...
    • การพัฒนาระบบการคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้นในระดับปฐมภูมิด้วยชุดตรวจ albuminuria 

      ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; ไตรรักษ์ พิสิษฐ์กุล; Trirak Pisitkul; สมกัญญา ตั้งสง่า; Somkanya Tungsanga; กิตตินันท์ โกมลภิส; Kittinan Komolpis; สดุดี พีรพรรัตนา; Sadudee Peerapornratana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      โรคไตเรื้อรังถือว่าเป็นหนึ่งในปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญทั้งในระดับชาติและระดับโลก เนื่องจากมีแนวโน้มที่ผู้ป่วยจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นในแต่ละปี ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะแรกจะยังไม่แสดงอาการของโรค แต่สามารถที่จะวินิจฉัยได้จากการ ...
    • การพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิบนฐานการคลังที่เป็นธรรมและยั่งยืนสําหรับคนไทยถ้วนหน้า 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; Direk Patamasiriwat; ศิลา โทนบุตร; Sila Tonboot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      ปัจจุบันความสำคัญของการขับเคลื่อนนโยบายด้วยข้อมูลในการดูแลสุขภาพ มีความสำคัญเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกับการปรากฏของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ประเทศไทย สามารถใช้ประโยชน์จากช่องทางข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให ...
    • การพัฒนารูปแบบการจัดการสุขภาพชุมชนในภาวะหลังวิกฤตของโรคระบาดโควิด-19 โดยบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในเขตสุขภาพที่ 5 และ 6 

      สุรศักดิ์ สุนทร; Surasak Soonthorn; อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์; Atcharawadee Sriyasak; ลัดดา เหลืองรัตนมาศ; Ladda Leungratanamart; จินตนา ทองเพชร; Jintana Tongpeth; ลักคณา บุญมี; Lakkana Boonmee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายรูปแบบการจัดการสุขภาพชุมชนหลังภาวะวิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19 (Post Crisis Management) ของอาสาสมัครสาธารณสุ ...
    • การพัฒนารูปแบบการบริการสุขภาพแบบวงจรยุคปกติวิถีใหม่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ตั้งอยู่บนเกาะ 

      ทัศนา บุญทอง; Tassana Boontong; วิไลวรรณ ทองเจริญ; Vilaivan Thongcharoen; อรพรรณ โตสิงห์; Orapan Thosingha; ศุภามณ จันทร์สกุล; Suphamon Chansakul; อโนรัตร เจนวิถีสุข; Anorut Jenwitheesuk; ชนินทร์ จักรภพโยธิน; Chanin Chakkrapopyodhin; อิศรา ผิวชัย; Isara Phiwchai; มัตติกา ใจจันทร์; Mattika Chaichan; รุ่งนภา เขียวชะอ่ำ; Rungnapha Khiewchaum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการบริการสุขภาพแบบครบวงจรในยุคปกติวิถีใหม่สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ตั้งอยู่บนเกาะในประเทศไทย โดยใช้รูปแบบของการวิจัยและการพัฒนา เก็บข้อมูลด้ว ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV