• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "วัณโรค"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 21-40 จาก 56

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1) 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsa-nguan; เอกชัย คำลือ; Ekkachai Kumlue; เกียรติชัย สุภามณี; Kiatchai Supamanee; ฉัตรฤดี ดำรงพานิชชัย; Chatrudee Damrongpanitchai; ณัฐดนัย ใชยนต์; Natdanai Chaiyon; ดวงเดือน เนตรวงศ์; Duangduen Netewong; ทรามวัย หลวงจินา; Sarmwai Luangjina; ทัศวรรณ กันธิมา; Tassawan Kuntima; ธงชัย ตั้งจิตต์; Thongchai Tangchit; มัสลิน จันทร์ผา; Muslin Chanpa; บุญชัย ไชยาศิรินทร์โรจน์; Boonchai Chaiyasirinroje; รัชนิตย์ ราชกิจ เนตรสุวรรณ; Ratchanit Ratchakit Nedsuwan; ศุภชัย พลรัฐ; Supachai Polrat; สุรสิทธิ์ บุพชาติ; Surasit Bupachat; สุรีรัตน์ ท้าวถึง; Sureerat Thawthong; เสาวณีย์ เปลี่ยนพานิช; Sawanee Plienpanich; อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค; Amornrat Wiriyaprasobchok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มูลนิธิวิจัยวัณโรคและโรคเอดส์, 2563-12)
      ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกรายงานต่อเนื่องทุกปีว่าประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรคมาก การตีตราวัณโรค (stigma) และความยากจน เป็นอุปสรรคต่อการยุติวัณโรคและมีความจำเป็นต้องร่วมมือกับหลายภาคส่วนเพื่อยุติวัณโรค ...
    • การพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเกิดเป็นวัณโรคในผู้ป่วยเอชไอวีที่มีการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงด้วยยาสูตรใหม่ ยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินวันละ 1 ครั้ง (4 สัปดาห์) เปรียบเทียบกับยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (12 สัปดาห์) (ปีที่ 1) 

      อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; ประพันธ์ ภานุภาค; Praphan Phanuphak; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; ฮาน, วิน มิน; Han, Win Min; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat; ศรายุทธ อุตตมางคพงศ์; Sarayuth Uttamangkapong; จิรายุ วิสูตรานุกูล; Jirayu Visuthranukul; ศรีเพชรรัตน์ เมฆวิวัฒนาวงศ์; Sripetcharat Mekviwattanawong; สุพรรณี จิรจริยาเวช; Supunnee Jirajariyavej; ประณิธิ ด่านพรประเสริฐ; Praniti Danpornprasert; วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsanguan; วิรัช กลิ่นบัวแย้ม; Virat Klinbuayaem; พลากร พนารัตน์; Palakorn Panarat; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; Pornpit Treebupachatsakul; ศิริชัย วิวัฒน์โรจนกุล; Sirichai Wiwatrojanagul; พฤฒิพงศ์ หนูเพชร; Preudtipong Noopetch; เพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศักดิ์; Ploenchan Chetchotisakd; ณัชชา แซ่เตียว; Natcha Saetiew; ฐิติสันต์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา; Thitisant Palakawong Na Ayuthaya; เครือทิพย์ จันทรธานีวัฒน์; Kruatip Jantharathaneewat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03-29)
      วัณโรคยังคงเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิตในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งการติดเชื้อเอชไอวีจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นวัณโรคมากขึ้น (100 เท่า) แม้ว่าการรักษาวัณโรคแฝงสามารถป้องกันการเป็นวัณโรคได้ประมาณ 60-90% แต่สูตรการร ...
    • การพัฒนาแบบจำลอง คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการดำเนินการ สำหรับมาตรการค้นหาวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค (ปีที่1) 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaykhetkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yupet; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satpretpry; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญต่อประชากรทั่วโลก ประเทศไทยถูกจัดเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาภาระวัณโรคสูง (high TB burden country) องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (End TB Strategy) ...
    • การพัฒนาและประเมินประสิทธิผลของระบบป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)
      การขาดยารักษาวัณโรค (Tuberculosis, TB) ส่งผลกระทบรุนแรงต่อผู้ป่วยวัณโรค ทำให้เชื้อวัณโรคดื้อยา การรักษายุ่งยากยิ่งขึ้น ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ...
    • การศึกษาความชุกของวัณโรคดื้อยาในเด็กไทยและเภสัชจลนศาสตร์และความปลอดภัยของยาลีโวฟอกซาซินในการรักษาวัณโรคในเด็ก 

      วรรษมน จันทรเบญจกุล; Watsamon Jantarabenjakul; ทวิติยา สุจริตรักษ์; Tavitiya Sudjaritruk; ปิยรัชต์ สันตะรัตติวงศ์; Piyarat Santarattiwong; ธันยวีร์ ภูธนกิจ; Thanyawee Puthanakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      แผนงานวัณโรคดื้อยาในเด็ก ประกอบไปด้วย 2 โครงการ คือ โครงการความชุกของวัณโรคดื้อยาในเด็กไทย และโครงการเภสัชจลนศาสตร์และความปลอดภัยของยาลีโวฟอกซาซินในการรักษาวัณโรคในเด็ก ซึ่งดำเนินงานใน 3 สถาบัน (โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ...
    • การศึกษาความชุกของวัณโรคแฝงและการให้ยาไอโซไนอะซิดเพื่อป้องกันการเกิดวัณโรคในเรือนจำของประเทศไทย (ปีที่ 1) 

      กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; วีระกิตติ์ หาญปริพรรณ์; Weerakit Hanparipan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-11)
      วัณโรค (TB) ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศไทยยังคงติดอับดับหนึ่งในสิบสี่ประเทศที่มีอุบัติการณ์การเกิดวัณโรคสูงสุดซึ่งรายงานโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งประกอบไปด้วยปัญหาวัณโรคทั่วไป, วัณโรคดื้อยาหลายสาย ...
    • การศึกษาประสิทธิผล ความปลอดภัย และระดับยาของยาโดลูทิกราเวียร์ 50 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้งร่วมกับอาหาร เปรียบเทียบกับยาโดลูทิกราเวียร์ 50 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้งในผู้ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี-1 ที่เป็นวัณโรค และเริ่มการรักษาด้วยสูตรยาไรแฟมปิน (ปีที่ 1) 

      อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      เนื่องจากการรับประทานยาไรแฟมปินและยาโดลูเทกราเวียร์ร่วมกันจะทำให้ระดับยาโดลูเทกราเวียร์ลดลง จึงมีคำแนะนำให้รับประทานยาโดลูเทกราเวียร์ วันละ 2 ครั้ง เมื่อมีการใช้ยาร่วมกัน อย่างไรก็ตาม ในผู้ที่มีสุขภาพดี การรับประทานยาโดล ...
    • การศึกษาปัจจัยที่มีส่วนร่วมและกลไกในระดับโมเลกุลที่ส่งผลให้เชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนานสายพันธุ์ Beijing ST10 กาญจนบุรี ซึ่งเป็น clonal outbreak MDR-TB strain มีความสามารถพิเศษในการแพร่เชื้อและก่อโรคได้ดีกว่าสายพันธุ์อื่นในประเทศไทย (ปีที่ 2) 

      มาริสา พลพวก; Marisa Ponpuak; ภากร เอี้ยวสกุล; Pakorn Aiewsakun; เทอดศักดิ์ พราหมณะนันทน์; Therdsak Prammananan; พินิตพล พรหมบุตร; Pinidphon Prombutara; ประภาภรณ์ ศรีโลหะสิน; Prapaporn Srilohasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      วัณโรคยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากการมีอุบัติการณ์ที่เพิ่มขึ้นของการติดเชื้อดื้อยาและเชื้อดื้อยาหลายขนาน จากการศึกษาเชื้อวัณโรคดื้อยาและเชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนานในประเทศไทยโดยใช้เทคนิค whole genome ...
    • การสำรวจค่าใช้จ่ายการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทย 

      ผลิน กมลวัทน์; Phalin Karmolwat; ศรีประพา เนตรนิยม; Sriprapa Nateniyom; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; มนทรัตน์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พิเชต วงรอต; Phichet Wongrot; บุญเชิด กลัดพ่วง; Booncherd Kladphuang; อรรถกร จันทร์มาทอง; Auttagorn Junmartong; อุบลรัตน์ วาจรัต; Ubonrat Wajarat; วัสนันท์ ขันธชัย; Wassanan Khanthachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional survey) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยวัณโรคและครอบครัวต้องแบกรับ (Out-of-pocket expenditure) เพื่อประเมินอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะวิกฤตทา ...
    • การเพิ่มความรับผิดชอบและประสิทธิภาพของระบบการกำกับการกินยารักษาวัณโรคโดยใช้แอปพลิเคชั่นมือถือ 

      วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; พลกฤต ขำวิชา; Ponlagrit Kumwichar (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      การติดตามการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคด้วยการมีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาต่อหน้า (Directly Observed Therapy, DOT) ไม่สามารถติดตามการกินยาของผู้ป่วยได้อย่างยั่งยืน เนื่องจากไม่มีระบบจัดการที่เหมาะสม รวมทั้งไม่มีระบบกำกับภาระหน้าที่ ...
    • ความรู้ การตีตราและประสบการณ์ของแพทย์และพยาบาลเกี่ยวกับวัณโรคและการสำรวจวัณโรคในกลุ่มผู้สัมผัส 

      วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsanguan; สุรีรัตน์ ท้าวถึง; Sureerat Thawthong; ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ; Supalert Nedsuwan; จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การสำรวจผู้สัมผัสวัณโรค (contact investigation-CI) เป็นมาตรการสำคัญที่ช่วยลดปัญหาวัณโรค แต่การทำ CI ยังมีความครอบคลุมต่ำ เนื่องจากปัจจัยด้านผู้ป่วย การตีตราทางสังคม รวมทั้งความรู้และทัศนคติของแพทย์และพ ...
    • ที่นี่ปลอดวัณโรค แน่ใจ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      วันนี้ วัณโรคยังอยู่กับสังคมไทย ไทยติดอันดับประเทศที่มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวนมาก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 และปี พ.ศ. 2555 มีผู้เสียชีวิตกว่าหมื่นราย ประชากรโลก 1 ใน 3 เป็นผู้ติดเชื้อวัณโรคโดยไม่ปรากฏอาการ วัณโรคเป็นแล้วตายแต่สามา ...
    • บทบาทของร้านยากับงานควบคุมวัณโรค 

      มาลี โรจน์พิบูลสถิตย์; Malee Rotphiboonsatit; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ชุดโครงการบทบาทของร้านยากับงานควบคุมวัณโรค ประกอบด้วย 2 โครงการย่อย ดังนี้ โครงการย่อยที่ 1: ความล่าช้าในการไปตรวจรับการรักษาและความล่าช้าในการตรวจวินิจฉัยของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ในจังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดคว ...
    • บันทึกของผู้ป่วยโรคมัยโคแบคทีเรียม เอเวียม 1 ราย โรงพยาบาลหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 

      สงวนชัย เจนศิริสกุล; Sanguanchai Jenesirisakule (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ผู้ป่วยโรคติดเชื้อมัยโคแบคทีเรียม เอเวียม พบไม่บ่อย และวินิจฉัยโรคยาก มักวินิจฉัยโรคได้โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรม และต้องอาศัยห้องปฏิบัติการสำหรับเพาะเชื้อ เพื่อตรวจความไว และภาวะดื้อยา ซึ่งมีเฉพาะในโรงเรียนแพทย์ ...
    • ประชากรวัณโรคอำเภอราษีไศล แนวโน้มการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ 

      สมชาย ภานุมาสวิวัฒน์; Somchai Panumaswiwat; สถิต สายแก้ว; Sathit Saikeaw; นพรัตน์ หารไชย; Noparath Harnrachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยวัณโรค และแนวโน้มการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในอำเภอราษีไศล เพื่อทราบถึงสถานการณ์แนวโน้ม ตลอดจนข้อมูลที่เกี่ยวกับผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ มาเปรียบเทียบกับการดำเนินงานของคลินิกวัณโรคอำเภอราษี ...
    • ผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อผลการดำเนินงานวัณโรคในประเทศไทย 

      อุษณีย์ อึ้งเจริญ; Usanee Ungcharoen; พิริยา เหรียญไตรรัตน์; Piriya Rientrirat; วรรณนิศา เทพรงค์ทอง; Wannisa Theprongthong; แมกา, ไซฟุดดีน; Maeka, Saifuddeen; ศิวรัตน์ นามรัง; Siwarat Namrang; ทิพประภา อมราสกุลทรัพย์; Thipprapa Amarasakulsap; ไพฑูรย์ บุญตวง; Phaithoon Boonthoung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เริ่มมีการระบาดครั้งแรกในเดือนธันวาคม 2562 ณ ประเทศจีน หลังจากนั้นมีการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย รัฐบาลไทยได้ประกาศพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ...
    • ผลของเภสัชพันธุศาสตร์ต่อระดับยาและผลข้างเคียงของยาต้านไวรัสเอชไอวีตัวใหม่ ในผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี-1 

      อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; ปาจรีย์ จริยวิลาศกุล (ลิลิตการตกุล); Pajaree Chariyavilaskul Lilitkarntakul; บราลี ปัญญาวุธโธ; Baralee Punyawudho; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; ธรณ์ธันย์ เอื้อพงศ์สุขกิจ; Thornthun Ueaphongsukkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ถึงแม้ประเทศไทยจะจัดการปัญหาเอชไอวีได้ดี และมียาต้านอยู่ใน Universal Access Program ตั้งแต่ปี 2008 มีการเริ่มยาต้าน Any CD4 count ตั้งแต่ปี 2014 และ same day ART (antiretroviral therapy, ART)/rapid ART ตั้งแต่ปี 2022 ...
    • ผลจากการควบคุมวัณโรคในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงพิเศษต่อการเป็นวัณโรคในภาคเหนือของประเทศไทย : กรณีศึกษาแบบการสังเกต 

      อรรถพล ชีพสัตยากร; เรืองรอง ชีพสัตยากร; Attapon Cheepsattayakorn; Ruangrong Cheepsattayakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      รายงานนี้เสนอข้อมูลจากการทบทวนสถานการณ์วัณโรคในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูง ต่อการป่วยเป็นวัณโรคและผลของการควบคุมวัณโรคโดยรวมในช่วงเวลาต่างๆ ในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย โดยทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลจากรายงานรอบปรกติของ ...
    • พัฒนาการของการควบคุมวัณโรคโดยยุทธวิธี Directly observed therapy, short-course (DOTS) ในประเทศไทยจนถึงกุมภาพันธ์ 2542 

      เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      พัฒนาการของการควบคุมวัณโรคโดยยุทธวิธี Directly Observed Therapy, Short-course (DOTs) ในประเทศไทยจนถึงกุมภาพันธ์ 2542DOTs เป็นยุทธวิธีหนึ่งที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรด้านสุขภาพระหว่างประเทศ เช่น องค์กรอนามัยโลก ...
    • ยุติวัณโรคล้านนา โดยการมีส่วนร่วมของร้านขายยา และคลินิกเอกชนในการคัดกรองและส่งต่อผู้มีอาการวัณโรค 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; ดิเรก สุดแดน; Derek Sutdan; คณัสนันท์ ศรีวรรณรมย์; Kanassanan Sriwanarom; ณัฐประคัลภ์ หอมนวล; Natprakan Homnual; ทรามวัย หลวงจินา; Sarmwai Luangjina; นภัชณันท์ บุญจู; Naphatchanan Boonju; เบญจวรรณ บุญส่ง; Benjawan Boonshong; บุญชัย ไชยาศิรินทร์โรจน์; Boonchai Chaiyasirinroje; ภัสสรา ซาลิซส์; Phassara Salis; ศราวุธ มณีวงค์; Sarawut Maneewong; สิริวิมล มณี; Siriwimon Manee; สุรีรัตน์ ท้าวถึง; Sureerut Thawthung; เอกชัย คนกลาง; Ekkachai Konklang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ : จากผลการศึกษาในการดำเนินงานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1) ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2562-2563 พบว่า ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV