Now showing items 41-60 of 196

    • การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ 

      กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; กฤช โชติการณ์; Krit Chotikan; อรนิฎา ธารเจริญ; Ornnida Tharncharoen; รัตติยา แดนดงยิ่ง; Rattiya Dandongying; ชนานันทน์ ไชยคำนวน; Chananan Chaikumnuan; มันตา มองเพชร; Manta Mongphet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการดำเนินงานโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านยา จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลจังหวัดขอนแก่น 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; วรรณี ชัยเฉลิมพงษ์; Wannee Chaichalermpong; อรนุช ทองจันดี; Oranuch Thongjundee; สุกัณฑา หมวดทอง; Sukunta Muadthong; กิตติยา ปิยะศิลป์; Kittiya Piyasin; นิสรา ศรีสุระ; Nissara Srisura (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) เป็นการประเมินที่เน้นการเรียนรู้การปรับตัวและสอดคล้องกับการนำไปใช้ เพื่อให้สามารถใช้ผลการประเมินเป็นแนวทางในการพัฒนาและการปรับตัวได้ทันที เป็นแนวทางที่ได้นำมาใช้มากขึ้นในก ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด 

      พยอม สุขเอนกนันท์ โอล์สัน; Phayom Sookaneknun Olson; พีรยา ศรีผ่อง; Peeraya Sriphong; จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์; Juntip Kanjanasilp; สายทิพย์ สุทธิรักษา; Saithip Suttiruksa; ธีระพงษ์ ศรีศิลป์; Theerapong Seesin; เปมรินทร์ โพธิสาราช; Pemmarin Potisarach; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piangkwan Srimongkhol; ปะการัง ศรีวะสุทธิ์; Pakarung Sriwasut; นันทนิจ มีสวัสดิ์; Nanthanich Meesawat; ธีระวุฒิ มีชำนาญ; Theerawut Meechumnan; ระพิตราภรณ์ พิพัฒนมงคล; Rapitraporn Pipattanamongkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01-12)
      การประเมินผลเชิงพัฒนา (developmental evaluation) เป็นวิธีการประเมินที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้วิจัยและผู้ดำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานให้สามารถไปถึงเป้าหมายได้ โดยวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้คือ ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนาของโรงพยาบาลมหาสารคาม ภายใต้การประเมินผลโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; จุฬารัตน์ ฮาดวิเศษ; Jularat Hadwiset; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piangkwan Srimongkhol; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ในปี 2562 รัฐบาลมีนโยบายโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการฯ ในจังหวัดมหาสารคาม วิธีการวิจัย: วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ศึกษารูปแบบการจัดบ ...
    • การประเมินผลและถอดบทเรียนการดำเนินงานของคลินิกโรคไตเรื้อรังภายใต้นโยบายกระทรวงสาธารณสุข 

      สสิธร เทพตระการพร; สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; ธีรพันธ์ แก้วดอก; ศุภางค์ วัฒนเสย; ณิชมน รักกะเปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขให้โรงพยาบาลในสังกัดมีการจัดตั้งคลินิกโรคไตเรื้อรัง (CKD clinic) ขึ้น ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบาย CKD clinic ของกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้รูปแบบการศึกษาแบบ Mixed ...
    • การประเมินระบบฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดเชิงนโยบายกำลังคนด้านสุขภาพ (HRH Code Indicators) 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ตวงทิพย์ ธีระวิทย์; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; Tuangtip Theerawit (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP.), 2559-03)
      การศึกษานี้ พยายามทบทวนสถานการณ์ข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพในประเทศไทย รวมถึงการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดกำลังคนด้านสุขภาพ จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพหลากหลายแหล่ง ...
    • การประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID-19 ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย 

      อนุสรณ์ อุดปล้อง; Anusorn Udplong; ธวัชชัย อภิเดชกุล; Tawatchai Apidechkul; ฟาติมา ยีหมาด; Fartima Yeemard (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพของบุคลากรและระบบสุขภาพในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย ในพื้นที่อำเภอชายแดนจังหวัดเชียงราย คือ ...
    • การประเมินสถานการณ์ด้านนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคเพื่อจัดตั้งศูนย์ควบคุมโรคติดต่อประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; Li Yang, Hsu; Howard, Natasha; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; Dabak, Saudamini; Ananthakrishnan, Aparna; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; มานิต สิทธิมาตร; Manit Sittimart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาทางวิชาการ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงาน (Operationalisation) ขององค์กรทางด้านสุขภาพในระดับภูมิภาค ซึ่งรวมไปถึงภูมิภาคอาเซียนด้วย ความคิดริเริ่มนี้เป็นความพยายามที่จะช่วยสนับส ...
    • การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี 2563 - 2564 (รายงานวิจัย) 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; วิวัฒน์ โรจนพิทยากร; Wiwat Rojanapithayakorn; เดือนเพ็ญ โยเฮือง; Duanpen Yohuang; จุฬาพร กระเทศ; Juraporn Krates; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; ปุณณิภา คงสืบ; Punnipa Kongsueb; ภาวิณี ธนกิจไพบูลย์; Pavinee Tanakitpiboon; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; กฤติยา สุขพัฒนากุล; Krittiya Sukpatthanakul; ณัฐนรี ขิงจัตุรัส; Natnaree Khingchatturat; วันวิสา เพ็ญสุริยะ; Wanwisa Pensuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันส่งผลต่อปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเชิงโครงสร้างและพฤติกรรม จำนวนประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่วัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง การพัฒนาอุตส ...
    • การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี 2563 - 2564 (เอกสารเผยแพร่) 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; วิวัฒน์ โรจนพิทยากร; Wiwat Rojanapithayakorn; เดือนเพ็ญ โยเฮือง; Duanpen Yohuang; จุฬาพร กระเทศ; Juraporn Krates; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; ปุณณิภา คงสืบ; Punnipa Kongsueb; ภาวิณี ธนกิจไพบูลย์; Pavinee Tanakitpiboon; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; กฤติยา สุขพัฒนากุล; Krittiya Sukpatthanakul; ณัฐนรี ขิงจัตุรัส; Natnaree Khingchatturat; วันวิสา เพ็ญสุริยะ; Wanwisa Pensuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันส่งผลต่อปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเชิงโครงสร้างและพฤติกรรม จำนวนประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่วัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง การพัฒนาอุตส ...
    • การประเมินเชิงเปรียบเทียบชุดตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงจากตัวอย่างเลือด: QuantiFERON-TB Gold Plus และ QIAreach QuantiFERON-TB 

      วิพัฒน์ กล้ายุทธ; Wiphat Klayut; จณิศรา ฤดีอเนกสิน; Janisara Rudeeaneksin; โสภา ศรีสังข์งาม; Sopa Srisungngam; พายุ ภักดีนวน; Payu Bhakdeenuan; สุปราณี บุญชู; Supranee Bunchoo; จันทร์ฉาย คำแสน; Junchay Khamsaen; ปนัดดา อร่ามเรือง; Panatda Aramrueang; เบญจวรรณ เพชรสุขศิริ; Benjawan Phetsuksiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงและการจัดการที่เหมาะสม เป็นองค์ประกอบสำคัญในการลดจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝง ด้วยการตรวจสารอินเตอร์เฟอรอนแกมมาจากตัวอย่างเลือด มีข้อดีกว่าการทดสอบทางผิวหน ...
    • การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กุนที พลรักดี; Kunnatee Ponragdee; อรรถวิทย์ ยางธิสาร; Atthawit Yangtisan; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; สุพัฒศิริ อึ้งมณีภรณ์; Supatsiri Uengmaneeporn; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)
      ความแออัดของโรงพยาบาลรัฐบาลขนาดใหญ่ที่ทำให้ผู้ป่วยรอรับบริการนานเป็นปัญหาเรื้อรังในระบบสุขภาพไทย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของผู้ป่วย ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงสาธารณสุขประกาศนโยบายลดความแออัดในโรงพยาบาลใหญ่โดยใช้ ...
    • การพัฒนากลไกสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ระยะที่ 1 

      นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      การใช้ยาไม่สมเหตุผล ทั้งในสถานพยาบาลรัฐและเอกชน รวมถึงการซื้อยากินเองจากแหล่งกระจายยาไม่เหมาะสมเป็นปัญหาของประเทศไทยที่มีมาอย่างยาวนานกว่า 4 ทศวรรษ ต่อมามีความพยายามในการแก้ไขปัญหา โดยมีการพัฒนาเริ่มจากโรงพยาบาลส่งเสริมก ...
    • การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; พรทิพย์ สำริดเปี่ยม; Pornthip Sumridpeam; กนกพร แก้วโยธา; Kanokporn Kaewyota; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; จำรัส สาระขวัญ; Jamras Sarakwan; ศิริพร ครุฑกาศ; Siriporn Kruttakart; กฤตพัทธ์ ฝึกฝน; Krittapat Fukfon; ประกาศ เปล่งพานิชย์; Praguard Plengpanichaya; สุภาพรรณ บุญสืบชาติ; Supaphan Boonsuebchat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ถอดบทเรียนการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) 2) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบบริการส ...
    • การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเขตสุขภาพที่ 4 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; อรุณี ไชยฤทธิ์; Arunee Chaiyarit; อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ; Uthaitip Chanpen; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; ขนิษฐา แสงทอง; Khanittha Sangthong; วงศ์ทิพารัตน์ มัณยานนท์; Wongtiparrat Manyanon; ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล; Channarong Ruchirachatkool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การวิจัยเรื่องการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเขตสุขภาพที่ 4 เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนา (Research & Development) ในรูปแบบการวิจัยแบบผสมผสาน ...
    • การพัฒนาข้อเสนอแนวทางการบริหารจัดการของกองทุนประกันสุขภาพในการจัดสรรงบประมาณให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่ถ่ายโอนไปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij; นภัทร บุญเทียม; Napat Boontiam; พรทิพย์ แก้วสิงห์; Pornthip Kaewsing; อำพล บุญเพียร; Aumpol Bunpean; ธีระศักดิ์ วงศ์ใหญ่; Dherasak Wongyai; ญาณันธร กราบทิพย์; Yananthorn Krabthip; หรรษา ชื่นชูผล; Hunsa Chuencupol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนการกระจายอำนาจและแผนปฏิบัติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กำหนดให้สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขถ่ายโอนภารกิจด้านการให้บริการปฐมภูมิที่อยู่กับสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ...
    • การพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและวิเคราะห์สถานการณ์การจัดการเรียนการสอน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กประถมศึกษา และสุขภาวะของครอบครัว ในช่วงการระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย 

      นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; วาทินี คุณเผือก; Watinee Kunpeuk; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-14)
      การวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและวิเคราะห์สถานการณ์การจัดการเรียนการสอน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กประถมศึกษา และสุขภาวะของครอบครัวในช่วงการระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย โดยมุ่งหวังว่าการศ ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดระบบสุขภาพในมุมมองของประชาชน 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; กิตติภัค เจ็งฮั้ว; Kittipak Jenghua; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ที่มาและความสำคัญ: ประเทศไทยมีการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์และการดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลมาอย่างต่อเนื่อง จากการมีนโยบายการพัฒนาสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา ...
    • การพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง 

      อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี; Achakorn Wongpreedee; ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; กิตติพงษ์ เกิดฤทธิ์; Kittipong Kerdrit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      วรรณกรรมและงานวิจัยเกี่ยวกับการกระจายอำนาจได้ส่งสัญญาณเตือนว่า การกระจายอำนาจที่ไม่ได้พิจารณาบริบทเฉพาะของแต่ละประเทศจะก่อให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์ ดังนั้น การออกแบบแนวทางการกระจายอำนาจให้สอดคล้องกับบริบทความจำเป็นของแต่ ...
      Tags: