Browsing by Title
Now showing items 3442-3461 of 5804
-
ทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)จากการทบทวนพบว่า การดำเนินการถ่ายโอนงานสาธารณสุขล่าช้า ขาดการเตรียมความพร้อมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อบจ.) ยังไม่มีโครงสร้างการบริหารงานสาธารณสุขขอองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ชั้น 1 และเทศบาล เท่านั้นที่มีส่วนสาธา ... -
ทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542-2550
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)การทบทวนเรื่องนี้เพื่อศึกษาความเป็นมา สถานการณ์และบริบทต่างๆ ของการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข รวมทั้งเสนอแนะการดำเนินการก่อนการทดลองถ่ายโอนสถานีอนามัยให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ทบทวนจากเอกสารการดำเนินงาน ข่าวสาร ... -
ทบทวนการปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสิงคโปร์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ทบทวนการปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสิงคโปร์การพัฒนาระบบสุขภาพในประเทศสิงคโปร์ เริ่มมีการพัฒนาเต็มที่ตั้งแต่สิงคโปร์มีการเลือกตั้งรัฐบาลบริหารของตนเองเมื่อปี ค.ศ.1959 โดยการดำเนินการทางด้านสาธารณสุขเพื่อลดปัญหาโรคระบาด ... -
ทบทวนตัวชี้วัดระบบยาของประเทศ ต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ
(สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2550)ศึกษาทบทวนตัวชี้วัดระบบยาของประเทศไทย ต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ ได้แก่ องค์การอนามัยโลก สหภาพยุโรป แคนาดา สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย -
ทบทวนทางเลือกของการกระจายอำนาจองค์การมหาชน
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2553-12-01)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม 10 ปี การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ : สังเคราะห์บทเรียนเพื่อหาทางออกร่วมกัน วันพุธที่ 1 ธันวาคม 2553 เวลา 08.30-15.30 น. ณ ห้องอบรมสถาบันพระปกเกล้า ชั้น 5 อาคารจอดรถ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ -
ทบทวนประสิทธิผลและแนวทางการรักษาโรคกระดูกพรุนของกลุ่มยารักษาโรคกระดูกพรุน
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-05)โรคกระดูกพรุนเป็นภาวะที่มวลกระดูกต่ำร่วมกับการเสื่อมของโครงสร้างระดับจุลภาคของกระดูกเป็นผลให้กระดูกมีความเปราะบาง ซึ่งเสี่ยงต่อการหักได้ง่าย โดยเฉพาะตำแหน่งของกระดูกสะโพก กระดูกสันหลัง และกระดูกข้อมือ การวินิจฉัยโรคกระดู ... -
ทบทวนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ มาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)แร่ใยหินทุกชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง มีผลต่อสุขภาพทั้งคนงานที่ทำงานสัมผัสแร่ใยหินและประชาชนทั่วไป แม้จะมีมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 3 (พ.ศ. 2553) เรื่องมาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน และคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 12 ... -
ทบทวนมาตราการและนโยบายด้านเพศภาวะและเอดส์ในประเทศไทย
(Women's Studies Center, Faculty of Social Sciences, Chiangmai University, 2547)การศึกษานี้มุ่งศึกษาทบทวนทบทวนมาตราการและนโยบายด้านเพศภาวะและเอดส์ในประเทศไทย ผู้เขียนตั้งสมมุติฐานว่า การจัดการปัญหาโรคเอดส์และการแพร่ระบาดของเอชไอวี/เอดส์ นั้นเป็นประเด็นเกี่ยวข้องกับอคติของสังคมที่มีต่อกลุ่มคนชายขอบเช่น ... -
ทบทวนระบบส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งของศูนย์รังสีวิทยา ภายใต้ความร่วมมือระหว่างโรงพยาบาลราชบุรี ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ปัจจุบันการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาระบบหรือ e-health ซึ่งริเริ่มโดยองค์การอนามัยโลก ที่ต้องการใช้ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการให้บริการด้านสุขภาพและเชื่อมโยงระหว่างผู้ป่วยกับผู้ให้บริ ... -
ทบทวนวรรณกรรมธรรมาธิบาลในระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพให้สมดุล และยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ ... -
ทบทวนวรรณกรรมน้ำท่วมกับสุขภาพ
(สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย ภัยพิบัติ: ... -
ทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันของภาวะเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)The effective control of infectious diseases is seriously threatened by the sustained increase in the number of antimicrobial resistant microorganisms. Once resistance has emerged in a population, it can spread geographically. ... -
ทบทวนสถานการณ์ปัญหาของระบบคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ และศึกษากรณีตัวอย่างของผู้ประสบภัยจากรถ
(2551)การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถเริ่มเกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใช้ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ซึ่งเป็นระบบการประกันภัยภาคบังคับ กําหนดให้เจ้าของรถหรือผู้ครอบครองรถทุกคันที่ใช้อยู่ต้องทําประกั ... -
ทบทวนสภาพปัญหาและการวิจัยเกี่ยวกับระบบยาของประเทศไทย : เอกสารประกอบการประชุมระดมสมองจัดทำแผนงานศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ระบบยามีองค์ประกอบย่อยอันได้แก่ องค์กร บุคคล กระบวนการ และการดําเนินกิจกรรมที่มีความหลากหลายและซับซ้อน นอกจากนี้ระบบยายังมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั้งภายในและภายนอกระบบสุขภาพในหลายลักษณะ ดังนั้น การพัฒนาระบบยาจึงจําเป็นต้อ ... -
ทรัพยากรบุคคลในระบบสุขภาพ : แนวคิด สถานการณ์ และการบริหารจัดการ
(คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-12-24)เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนานักวิจัยในเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 วันที่ 23-27 ธันวาคม 2556 ณ ห้องประชุมสานใจ 1 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข -
ทราบได้อย่างไรว่ามะเร็งเต้านมที่เป็นอยู่มีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)การวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมและมีลักษณะทางคลินิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยไม่เกิน 45 ปี 2. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยระหว่าง 40-50 ปี และมีญาติใกล้ชิด อย่างน้อย 1 คน เป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งตับอ่อน ... -
ทฤษฎี
(2551-12-04)เข้าสู่แนวคิดและจุดมุ่งหมายของการวิจัยระบบสาธารณสุขที่ถ่ายทอดจากงานเขียนของนักวิจัยระบบสาธารณสุขแห่งเบลเยี่ยม -
ทฤษฎีและกรอบแนวคิดของการวิจัยเพื่อนำนโยบายสาธารณสุขไปสู่การปฏิบัติ: การวิจัยอย่างเป็นระบบเพื่อค้นหากลยุทธ์การปฏิบัติตามนโยบายที่มีประสิทธิภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)การนำสิ่งที่กำหนดไว้ในนโยบายไปปฏิบัติ ต้องการองค์ความรู้ที่แตกต่างไปจากการพัฒนานโยบาย ดังนั้น จึงต้องมีการวิจัยการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (implementation research: IR) เพื่อพัฒนาวิธีการหรือกลยุทธ์ในการนำนโยบายไปปฏิบัติให ... -
ทศวรรษหน้ากับการพัฒนาแพทย์ 2540-2550
(2551-12-04)บทความชิ้นนี้เป็นคำบรรยายของ นพ.วิทุร แสงสิงแก้ว ปลัดกระทรวงสาธารณสุขในการประชุมวิชาการส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 39 ของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ณ จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2538 และได้รับอนุญาตให้นำลงเผยแพร่ในวารสารฉบับนี้ ... -
ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพัฒนาระบบทะเบียนการให้บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประเทศไทย ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะในเวลา 5 ปี ประกอบด้วย ระยะที่ 1 เป็นการสร้างความร่วมมือกำหนดแนวทางมาตรฐานการให้บริการ ...