• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 2630-2649 จาก 5899

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การเฝ้าระวังการบริโภคยาต้านจุลชีพของประเทศไทย: รากฐานเพื่อการควบคุมเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ 

      คณะวิจัยและพัฒนาระบบติดตามการบริโภคยาต้านจุลชีพของประเทศไทย; Development on Surveillance of Antimicrobial Consumption (SAC) in Human and Animal Project Researcher Team; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นภัยคุกคามที่สำคัญทางสาธารณสุขในปัจจุบันและนับวันจะยิ่งส่งผลทวีความรุนแรงมากขึ้น แม้ว่าการดื้อยาต้านจุลชีพจะเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติ แต่การใช้ยาต้านจุ ...
    • การเฝ้าระวังการบาดเจ็บ จังหวัดตรัง ปี 2538 

      พิกุล ดิษฐแก้ว; Pikul Distakaew; วิภา ลุ้งบ้าน; พัชนี ธรรมพานิชย์; อนันต์ ชูหอยทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
      การเฝ้าระวังการบาดเจ็บ จังหวัดตรัง ปี 2438การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบขนาดและความรุนแรงของปัญหา ลักษณะทางระบาด-วิทยาของผู้บาดเจ็บ สาเหตุปัจจัยเสี่ยงและการใช้เครื่องป้องกัน ตลอดจนคุณภาพของการได้รับบริการรักษาพยาบาล ...
    • การเฝ้าระวังการปนเปื้อนของสารหนูในนำบริโภคของตำบลร่อนพิบูลย์ 

      วิไลวรรณ พุทธพฤกษ์; Wilaiwan Puttapruk; ณรงค์ ภมรภู่ศิริกุล; พโยม เสนอินทร์; อุไรวรรณ หมัดอ่าดัม; Narong Pamornpoosirikul; Payome Sanin; Uraiwan Madardam; โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์ (โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์, 2545)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปาและน้ำฝนในเขตพื้นที่ที่เสี่ยงต่อโรคพิษสารหนูในเขตพื้นที่ตำบลร่อนพิบูลย์ อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีขั้นตอนการศึกษา 1) ตรวจหาปริมาณสารหนูในน้ำประปาทุกระ ...
    • การเฝ้าระวังการเข้าถึงบุหรี่ของเยาวชนอายุตำกว่า 18 ปีโดยอาสาสมัคร ครู ร้านค้าบุหรี่และผู้นำในชุมชนจังหวัดหนองคายปี 2541 

      บัน ยีรัมย์; Ban Yeeram; กัญญภัทร์ ยีรัมย์; วรสิทธิ์ อินธิศักด์ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย, 2542)
      การเฝ้าระวังการเข้าถึงบุหรี่ของเยาวชนอายุตำกว่า 18 ปี โดยอาสาสมัคร ครู ร้านค้าบุหรี่ และผู้นำชุมชนในจังหวัดหนองคายปี 2541 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ในพื้นที่ 5 หมู่บ้านของ ต.เซิม อ.โพนพิสัย จ.หนองคาย ...
    • การเฝ้าระวังการเสียชีวิตเนื่องจากภาวะอากาศหนาวในประเทศไทย เดือนตุลาคม 2553 – กุมภาพันธ์ 2554 

      แสงโฉม ศิริพานิช; พรรณนภา เหมือนผึ้ง; อนงค์ แสงจันทร์ทิพย์; Sangchom Siripanich; Pannapa Meaunphueng; Anong Sangchantip (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สภาพอากาศที่หนาวเย็น เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วยและเสียชีวิตสูงขึ้น การสัมผัสกับอากาศหนาวเย็น ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิต่ำกว่าปกติ และเป็นผลต่อระบบสมองและหัวใจ การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง( ...
    • การเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย 

      สาวิตรี อัษณางค์กรชัย; อโนชา หมึกทอง; ถนอมศรี อินทนนท์ (เครือข่ายวิชาการวิจัยและข้อมูลด้านสารเสพติดในภาคใต้สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551-11)
      การดื่มสุราและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพอื่นๆ เป็นปัญหาทางสังคมและสาธารณสุขที่สำคัญที่พบมากขึ้นในวัยรุ่นทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ สุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสารเสพติดที่วัยรุ่นนิยมใช้มากที่สุด และทำให้เกิดผลกระทบตามมามากมาย ...
    • การเฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้ การเข้าถึงกัญชาและสารเสพติดชนิดอื่น ผลกระทบจากการใช้ การรับรู้และความคิดเห็นต่อมาตรการด้านกัญชาในประชากรทั่วไป 

      วิทย์ วิชัยดิษฐ; Wit Wichaidit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)
      วัตถุประสงค์: โครงการวิจัยนี้เป็นการสำรวจภาคตัดขวาง 3 รอบ (3 waves) โดยมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อบรรยายแบบแผนของพฤติกรรมการใช้กัญชา 2) เพื่อบรรยายวิธีการเข้าถึงกัญชา 3) เพื่อบรรยายผลกระทบจากการใช้กัญชาต่อตนเองและครัวเรือน ...
    • การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีในประเทศไทย และการค้นหาปัจจัยเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาแนวทางป้องกันเชิงระบบ 

      สมรัตน์ จารุลักษณานันท์; Somrat Charulaksananan; ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์; สุวรรณี สุรเศรณีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวางระบบการศึกษาภาวะแทรกซ้อนที่สําคัญทางวิสัญญีในโรงพยาบาล 20 โรงพยาบาลในประเทศไทย ได้แก่ โรงเรียนแพทย์ 7 แห่ง, โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 5 แห่ง, โรงพยาบาลทั่วไป 4 แห่งและโรงพยาบาลชุมชน 4 ...
    • การเฝ้าระวังสุขภาพของประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าจะนะจากมลพิษทางอากาศ กรณีศึกษาหมู่บ้านควนหัวช้าง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; ชนนท์ กองกมล (ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม, 2552-05-12)
    • การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในบ่อบำบัดน้ำเสียบริเวณจังหวัดที่พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อ 

      รัตนพร ตั้งวังวิวัฒน์; Ratanaporn Tangwangvivat; สุภาภรณ์ วัชรพฤษาดี; Supaporn Wacharapluesadee; ปภัสสร ภิญโญพรพาณิชย์; Papassorn Pinyopornpanish; ชฎาภรณ์ เพียรเจริญ; Chadaporn Phiancharoen; ภัทรา ดวงแก้วกาศ; Phattra Duengkaewkad; ชิติ หุ่นอุตกฤษณ์; Chiti Hoonaukit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12-20)
      กรมควบคุมโรค โดยกองโรคติดต่อทั่วไป ได้ดำเนินโครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบ่อบำบัดน้ำเสียบริเวณจังหวัดที่พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ในสิ่งปฏิกู ...
    • การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2012 เชิงรุก ในแหล่งค้างคาวรังโรค 

      สุภาภรณ์ วัชรพฤษาดี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-05)
      ค้างคาวเป็นแหล่งรังโรคของไวรัสโคโรน่า (Coronavirus, CoV) หลายชนิด ทั้ง genus Alphacoronaviruses (alphaCoV) และ Betacoronavirus (betaCoV) ซึ่งรวมทั้งเชื้อไวรัสที่นำโรคร้ายแรงสู่คน อาทิ ซารส์ (severe acute respiratory ...
    • การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 

      จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์; Chirasak Tangtrongpairoj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • การเพิ่มการเข้าถึงบริการต้อกระจกในประชากรกลุ่มเปราะบาง (ผู้สูงอายุ) เขต 2 ปี 2561 

      โอฬาร รัศมี; Olarn Russamee; สุชาดา ไชยวุฒิ; Suchada Chaisawadi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • การเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 : จากนโยบายสู่การปฏิบัติ 

      เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; รุ่งนภา คำผาง; พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Saowalak Turongkaravee; Waranya Rattanavipapong; Roongnapa Khampang; Pattara Leelahavarong; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษากระบวนการนำนโยบายเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียา จ (2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 ไปสู่การปฏิบัติโดยโครงการประกันสุขภาพภาครัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โครงการสวัสดิการรักษาพย ...
    • การเพิ่มขีดความสามารถ (Capacity building) ขององค์กรเครือข่ายสถาบันการศึกษาในท้องถิ่น ด้านการดำเนินการควบคุม กำกับ และประเมินผลภายใต้โครงการวิจัย การควบคุม กำกับ และประเมินผล โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเยาวชน และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 

      นุชวรรณ์ บุญเรือง; ศรันยา บุญใหญ่; อุษา โถหินัง; กนกศักดิ์ วงศ์เป็ง; เพชรัตน์ ศิริสุวรรณ; กิติยา พรมอ่อน; กุลญิศา เตชะเพชรไพบูลย์ (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)
      เพื่อดำเนินการเพิ่มขีดความสามารถ (Capacity building) ขององค์กรสถาบันการศึกษาในท้องถิ่น สำหรับเป็นเครือข่ายการดำเนินการควบคุม กำกับ และประเมินผล ฯ “โครงการวิจัยการควบคุม กำกับ และประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพ ...
    • การเพิ่มความรับผิดชอบและประสิทธิภาพของระบบการกำกับการกินยารักษาวัณโรคโดยใช้แอปพลิเคชั่นมือถือ 

      วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; พลกฤต ขำวิชา; Ponlagrit Kumwichar (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      การติดตามการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคด้วยการมีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาต่อหน้า (Directly Observed Therapy, DOT) ไม่สามารถติดตามการกินยาของผู้ป่วยได้อย่างยั่งยืน เนื่องจากไม่มีระบบจัดการที่เหมาะสม รวมทั้งไม่มีระบบกำกับภาระหน้าที่ ...
    • การเพิ่มประสิทธิผลการดำเนินงาน ส่งเสริมการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ สปสช.เขต 2 พิษณุโลก 

      กษมา ทองแบบ; Kasama Thongbaeb (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • การเพิ่มศักยภาพและการวางยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการดำเนินโครงการ CDM 

      สุธาวัลย์ เสถียรไทย; Suthawan Sathirathai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      รายงานการวิจัย เรื่อง “การเพิ่มศักยภาพและการวางยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการดำเนินโครงการ CDM” มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเสนอยุทธศาสตร์ในการดำเนินโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ของประเทศไทยโดยเฉ ...
    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • การเพิ่มเข้าถึงบริการรังสีรักษาด้วยระบบส่งต่อทาง internet 

      นิภาภัทร คงโต; คณิตศักดิ์ จันทราพิพัฒน์; ชัยพร กันกา; ฉวีวรรณ เจิมสม (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 3 นครสวรรค์, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาการบริหารจัดการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter8-9 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV