Browsing by Title
Now showing items 2672-2691 of 5838
-
การใช้ยาต้านจุลชีพและปัญหาเชื้อดื้อยาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539) -
การใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)ปัญหาการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุเป็นปัญหาสำคัญที่ได้รับความสนใจจากหลายประเทศทั่วโลกแต่ในประเทศไทยยังไม่มีการศึกษามากนัก การศึกษานี้ได้สำรวจการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุในตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐมโดยใช ... -
การใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะในสัตว์เลี้ยง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09) -
การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ ... -
การใช้ยาสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบัน ในโรงพยาบาลศูนย์ลำปาง และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดลำปาง ปี 2545-2549
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบมูลค่าการใช้ยาสมุนไพร ทดแทนยาแผนปัจจุบันในการรักษาโรคหรือกลุ่มอาการ 5 กลุ่มอาการหลัก ในช่วงเวลา 5 ปี (ปีงบประมาณ 2545-2549) ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2550 – สิงหาคม 2551 ... -
การใช้ยาสามัญทดแทนยาต้นแบบในโรงพยาบาลรัฐและเอกชนในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การศึกษาหลักเกณฑฺ์และการปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ยาสามัญ (generic drugs) ทดแทนยาต้นแบบ(origin-nal drugs) ในโรงพยาบาลรับและเอกชนในประเทศไทย เก็บข้อมูลโดยส่งแบบสอบถามในโรงพยาบาล 292 แห่งในเดือนกุมภาพันธ์ 2544 ได้รับแบบสอบถามส ... -
การใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดเพื่อเป็นฮอร์โมนทดแทน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)การใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดเพื่อเป็นฮอร์โมนทดแทนในสตรีวัยหมดระดูวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดต่อการเปลี่ยนแปลงของกระดูก ไขมันในเลือด และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน รวมทั้งความปลอดภัยของยา ... -
การใช้ยาในผู้สูงอายุไทยเขตภาคเหนือตอนล่างประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)การศึกษาปัญหาการใช้ยาในประชากรสูงอายุอย่างเป็นระบบในประเทศไทยเพื่อสะท้อนภาพของปัญหาการใช้ยาในชุมชน และนำไปสู่การพัฒนากรอบนโยบายด้านยารวมทั้งการจัดสรรทรัพยากรสำหรับการแก้ไขปัญหาการใช้ยาในกลุ่มประชากรสูงอายุของประเทศเป็นเรื่องจำเป็น ... -
การใช้ระบบบูรณาการปัญญาประดิษฐ์และการติดตามการส่งต่อผู้ป่วยในการตรวจคัดกรองภาวะเบาหวานเข้าจอตาแบบแสดงผลการคัดกรองทันที
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)ภาวะเบาหวานเข้าจอตาเป็นภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดขนาดเล็กที่พบได้มากในผู้ป่วยเบาหวาน อีกทั้งยังเป็นสาเหตุสำคัญของภาวะตาบอดในประชากรโลก ดังนั้นการคัดกรองเบาหวานเข้าจอตาจึงเป็นสิ่งสำคัญในระบบสาธารณสุขทั่วโลก อย่างไรก็ตามประเ ... -
การใช้สัญลักษณ์ทางกฎหมายเพื่อควบคุมการซื้อบุหรี่ของเด็กและเยาวชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)Usage the law symbols for buying cigarette control in teenagersUsage the law symbols for buying cigarette control in teenagers: we conducted the Quasi-experimental research that controls the teenagers buying cigarette by ... -
การใช้เครื่องช่วยฟังของคนพิการทางการได้ยินสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงระบบการให้บริการเครื่องช่วยฟัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)คนพิการทางการได้ยินสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สามารถขอรับบริการเครื่องช่วยฟังได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด การศึกษาเชิงสำรวจภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การใช้เครื่องช่วยฟังในกลุ่มคนพิ ... -
การใช้เครื่องสลายนิ่วในประเทศไทย ประสิทธิภาพและความเสมอภาค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ; สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข, 2536)The use of extra corporeal shock wave lithotripters in Thailand: efficiency and equityBased mainly on hospital statistics, this study aims to collect(a) financial data from Extra Corporeal Shock Wave Lithotripter (ESWL) ... -
การใช้เทคนิคถ่ายภาพอวัยวะ 3 มิติชนิดสเปค (Conventional SPECT) เปรียบเทียบกับเทคนิค Multi-planar imaging ในการวินิจฉัยรอยโรคของกระดูกเชิงกรานจากการตรวจสแกนกระดูกด้วย 99 mTc-MDP กรณีที่ผู้ป่วยมีปริมาณรังสีเหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
(คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, 2555-07-10)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี -
การใช้แบบจำลองคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดแดงใหญ่ บริเวณหน้าท้องโป่งแบบจำเพาะบุคคลด้วยเทคนิคภาพถ่ายเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการคำนวณด้านพลศาสตร์ของไหล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)โรคระบบหลอดเลือดและหัวใจจัดเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases) ที่เป็นอันตรายและมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งโรคกลุ่มนี้เป็นโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการดำเนินชีวิต มักจะค่อยๆ สะสมอาการ ค่อยๆ เกิด ... -
การใช้แบบจำลองพลวัตระบบในการวางแผนบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพในระยะ 10 ปีข้างหน้า: โครงการนำร่องเขตสุขภาพที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-07)การปฏิรูปกำลังคนด้านสุขภาพเป็นหนึ่งในประเด็นการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขที่กำหนดเป้าหมายให้มีกำลังคนด้านสุขภาพเพียงพอต่อการให้บริการสุขภาพเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการมีสุขภาพดีของประชาชน ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนกำลัง ... -
การใช้แบบติดตามเพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่ทำ Percutaneous
(โรงพยาบาลศิริราช, 2554-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาระบบบริการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter4-5 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี -
การใช้แร่เฉพาะที่เพื่อใช้ในการรักษาผู้ป่วยที่มีเนื้องอกในตา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)ที่มาและความสำคัญ : การรักษาด้วยการวางแร่ (Eye Plaque Brachytherapy) เป็นการรักษาทางเลือกใหม่ที่กำลังมีการใช้อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพในการรักษาไม่ต่างจากการฉายรังสีแบบภายนอกในแง่ของการควบคุมมะเร็ง ลดอัตราการกลับเป็นซ้ำ ... -
การใช้และการปฏิบัติตามแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยขององค์การอนามัยโลก ในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชนในประเทศไทย เพื่อการพัฒนาคุณภาพ และความปลอดภัยของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด
(สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-04)แบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยขององค์การอนามัยโลก ได้ถูกนำไปใช้ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการผ่าตัด แต่ยังไม่พบข้อมูลผลลัพธ์ของการนำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยมาใช้ในภาพรวมของประเทศไทย ... -
การให้ความรู้และผลักดันนโยบายสาธารณะเมืองเชียงใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้ มีจุดประสงค์ที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะแก่ประชาชนชาวเชียงใหม่ และกระตุ้นให้ประชาชนชาวเชียงใหม่ผลักดันนโยบายสาธารณะที่ตนเห็นว่าน่าจะได้รับการแก้ไข ผ่านผู้สมัครรับเลือกตั้งนายกเทศมนต ...