• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 2942-2961 จาก 5898

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • ความจำเป็นและแนวทางในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ : กรณีโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Pattapong Kessomboon; เดชรัต สุขกำเนิด; นุศราพร เกษสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      โครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี ได้รับการกล่าวขานกันมากในระยะนี้ เนื่องจากประชาชนและประชาสังคมมีความตื่นตัวและตระหนักว่าเรื่องนี้ อาจจะมีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของชาวอุดรธานีได้อย่างมากมายมหาศาล ...
    • ความจำเป็นในการเข้ารับบริการรักษาพยาบาลจากมุมมองของผู้ป่วยและแพทย์ 

      อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; อภิชัย วรรธนะพิศิษฐ์; รัตติยา อักษรทอง; Udomsak Saengow; Apichai Wattanapisit; Ruttiya Asksonthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-07)
      หนึ่งในข้อโต้แย้งสำคัญที่มักถูกยกขึ้นมาจากฝ่ายผู้ให้บริการเพื่อคัดค้านการให้การรักษาฟรีภายใต้นโยบาย หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ว่า การที่รัฐบาลจัดการรักษาฟรีให้แก่ประชาชนนำไปสู่การเข้ารับบริการที่ไม่จำเป็นหรือเกินความจำเป็น ...
    • ความชอบและความเต็มใจจ่ายค่ายาของผู้ใช้สิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการ : กรณีศึกษายากลุ่ม HMG-CoA reductase inhibitors (Statins) 

      ภัสสรานิจ พรรณรังษี; ธนเทพ วิชญากร; สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชอบและความเต็มใจจ่ายค่ายาของผู้ใช้สิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการโดยใช้ยากลุ่ม statin เป็นกรณีศึกษา การศึกษานี้แบ่งเป็น 2 ตอนหลักๆ โดยที่ในตอนแรกได้มีการหาคุณลักษณะที่สำคัญของยากลุ่ม ...
    • ความชุกของความผิดปกติแต่กำเนิดในประเทศไทยระหว่างปี 2551-2565: การศึกษาย้อนหลังจากฐานข้อมูลมาตรฐานด้านสุขภาพ 

      จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; อภิรักษ์ กุลสุ; Apirak Kulsu; โชติรส ภู่ระหงษ์; Shotirose Phurahong; เดือนฉาย คะตา; Dueanchai Khata; นภัสวรรณ ศิริวงศ์; Napatsawan Siriwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)
      ความผิดปกติแต่กำเนิดยังเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มีการศึกษาความชุกของความผิดปกติแต่กำเนิดของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2557-2559 แต่ไม่มีข้อมูลหลังจากนั้น จึงศึกษาย้อนหลังเพื่อดูสถานการณ์ความชุกของ ...
    • ความชุกของเชื้อแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในสุนัขที่อาศัยอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศ 

      สุขฤทัย บุญมาไสว; Sookruetai Boonmasawai; นรสุทธิ์ บางภูมิ; Norasuthi Bangphoomi; ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์; Sivapong Sungpradit; นรัชพัณญ์ ปะทิ; Naratchaphan Pati; ธีระวิทย์ ตั้งก่อสกุล; Teerawit Tangkoskul; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      มนุษย์และสุนัขที่เป็นสัตว์เลี้ยงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด การสัมผัสโดยตรงระหว่างมนุษย์และสุนัขนั้นอาจเป็นปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเชื้อแบคทีเรียก่อโรคระหว่างกันได้ กลุ่มสัตว์เลี้ยงจึงอาจเป็นปัจจัยที่เกี่ยว ...
    • ความชุกของโรคอ้วน โรคอ้วนที่ไม่ได้รับการวินิจฉัยและภาวะแทรกซ้อนของโรคอ้วนจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 

      กฤษณะ สุวรรณภูมิ; Krishna Suvarnabhumi; ศิรวิทย์ ทรงคุณ; Sirawit Songkun; กนต์ธร กูลกิจพัฒนา; Konthorn Kulkitphattana; โกเมน จันทรมณี; Komain Juntaramanee; ขวัญวรินทร์ ส่งส่อง; Khwanwarin Songsong; เจษฎากร ศิริตัน; Jesadakorn Siriton; ปวีณ์นุช หมั่นธโนปจัย; Paweenuch Munthanopajai; วิภาวี บุญมี; Wipawe Boonmee; ศุภกิตติ์ เจนวิถีสุข; Suphakit Jenwitheesuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ในปัจจุบันอุบัติการณ์ของโรคอ้วนเพิ่มขึ้นทุกขณะ และพบว่ามีความสัมพันธ์ที่ชัดเจนระหว่างดัชนีมวลกายที่เพิ่มขึ้นกับความชุกของโรคเรื้อรัง แต่กลับพบว่ามีผู้ป่วยจำนวนมากที่ไม่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคอ้วน การวิจัยนี้มีวัตถุประสง ...
    • ความชุกและปัจจัยทำนายความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 

      นีลนาถ เจ๊ะยอ; Neelanad Cheyoe (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การศึกษานี้เป็นการหาความชุกและปัจจัยทำนายความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งมารับบริการที่คลินิกเบาหวานโรงพยาบาลหนองจิก จังหวัดปัตตานี ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 จำนวน 95 ...
    • ความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อความล้มเหลวในการบริหารยาเบาหวานของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 

      นีลนาถ เจ๊ะยอ; Neelanad Cheyoe (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความล้มเหลวในการบริหารยาเบาหวานของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งมารับบริการที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลหนองจิก จังหวัดปัตตานี ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2556 ...
    • ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับสุรา 

      จุฑามาศ หน่อตุ่น; Jutamas Nortun; ชนากานต์ เจนใจ; Chanakan Jenjai; ชิดชนก เรือนก้อน; Chidchanok Ruengorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      ปัญหาพฤติกรรมการบริโภคสุราเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขเนื่องจากเพิ่มความเสี่ยงของพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคิดและการพยายามฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่ ...
    • ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในแพทย์ใช้ทุนในปี 2555 

      นิศากร เชื้อสาธุชน; สรันยา เฮงพระพรหม; Nisakorn Chuesathuchon; Sarunya Hengpraprom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของความเครียด และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในแพทย์ใช้ทุน กลุ่มตัวอย่างได้แก่แพทย์ใช้ทุนปี 2555 จำนวน 283 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามระหว่างเดือน ...
    • ความชุกและปัจจัยเสี่ยงภาวะเส้นประสาทรับความรู้สึกส่วนปลายผิดปรกติในผู้ป่วยเอชไอวี โรงพยาบาลกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 

      เจษฐา พัชรเวทิน; Chestha Phacgarawetin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ผู้ป่วยเอชไอวีจำนวนมากมีอาการเส้นประสาทอักเสบ โดยเฉพาะจากภาวะเส้นประสาทรับความรู้สึกส่วนปลายผิดปรกติ ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ผู้รายงานจึงทำการศึกษาสำรวจความชุกของภาวะเส้นประสาทรับความรู้สึกส่วนปลายผิดปรกติในผู้ป ...
    • ความชุกและอุบัติการณ์ของการติดเชื้อด้วยการตรวจทางซีโรโลยีและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ในบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้าที่ดูแลผู้ป่วย เปรียบเทียบกับบุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่ได้ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ในสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ภายในโรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร 

      ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; อรศรี วิทวัสมงคล; Orasri Wittawatmongkol; จตุรงค์ เสวตานนท์; Jaturong Sewatanon; โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์; Kovit Pattanapanyasat; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วินัย รัตนสุวรรณ; Winai Ratanasuwan; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      หลักการและเหตุผล บุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานด่านหน้า เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีโอกาสติดเชื้อโควิด ทำให้มีโอกาสต้องตรวจสวอปบ่อยครั้ง การตรวจด้วยวิธีทางซีโรโลยี ทำได้ง่ายและสามารถใช้ในการเฝ้าระวังได้ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสง ...
    • ความซับซ้อนของระบบสุขภาพ: ความเข้าใจสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
    • ความดันโลหิตสูงในคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-09)
      ความดันโลหิตสูง เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โดยพบว่าความดันซิสโตลิกที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ 10 มิลลิเมตรปรอท จะทำให้ความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 และโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มขึ้นร้อยละ ...
    • ความตระหนักรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในบุคลากรทางการแพทย์ 

      กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; วิบูลย์ วัฒนนามกุล; อารีรัตน์ บากาสะแต; จำปี วงศ์นาค; ยลฤดี ตัณฑสิทธิ์; สุกัณฑา หมวดทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      งานวิจัยนี้ศึกษาถึงความตระหนักรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของบุคลากรทางการแพทย์ รวมไปถึง สืบค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตระหนักรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของบุคลากรทางการแพทย์ อันจะเป็นปัจจัยนำเข้าที่สำคัญในการหา ...
    • ความตระหนักและพฤติกรรมเสี่ยงการรับเชื้อเอชไอวีที่มีผลต่อการระบาดของโรค สถานการณ์ปัจจุบันในอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย 

      ศิวะพร จึงพิชาญวณิชย์; Sivaporn Jungpichanvanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ถึงความตระหนักและพฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลต่อการระบาดของเชื้อเอชไอวีในเขตอำเภอพาน จากการสัมภาษณ์ประชากรตัวอย่าง 330 ราย พบว่าร้อยละ 48.19 ไม่ตระหนักต่อการติดเชื้อเอชไอวี และร้อยละ ...
    • ความต้องการการวิจัยในส่วน การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด 

      วิโรจน์ วีรชัย; Viroj Verachai (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-22)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง “การพัฒนายุทธศาสตร์งานวิจัยเกี่ยวกับสมอง จิตใจ และพฤติกรรม” (Development of Research Strategies for Brain Mind and Behaviour) จัดโดย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการปฐมภูมิในปี พ.ศ. 2569 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษานี้เป็นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับปฐมภูมิในอนาคต (พ.ศ. 2569) ซึ่งครอบคลุมทั้งภาครัฐและเอกชน และครอบคลุมบริการ (1) การรักษาเบื้องต้นและการแพทย์แผนไทย (2) การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอนาคต 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat; วาสินี วิเศษฤทธิ์; Wasinee Wisesrith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของประเทศไทย วิธีการศึกษาประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่ การเก็บข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิและการคาดการณ์ความต้องการกำลังคน ...
    • ความต้องการกำลังคนวิชาชีพสาธารณสุขของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ประยูร ฟองสถิตย์กุล; Prayoon Fongsatitkul; สถิรกร พงศ์พานิช; Sathirakorn Pongpanich; วิทยา อยู่สุข; Wittaya Yoosuk; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ; Kwanjai Amnatsatsue; ทัศนีย์ ศิลาวรรณ; Tasanee Silawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทย นอกจากจะต้องประสบกับปัญหาในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ที่นำไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ำแล้ว ระบบสุขภาพก็กำลังได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ โครงสร้างประชากรที่กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อยๆ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV