Browsing by Author "นิธิมา สุ่มประดิษฐ์"
Now showing items 1-13 of 13
-
การกระจายและการใช้ยาปฏิชีวนะของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)ความไม่สอดคล้องระหว่างรายการยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในหน่วยบริการ กับศักยภาพการให้บริการของหน่วยบริการ อาจทำให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล อันจะส่งผลต่อการเกิดเชื้อดื้อยา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายแล ... -
การทบทวนเอกสารวิชาการ บทเรียนการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาในประเทศต่างๆ
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-04)การควบคุมหรือแก้ไขปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยาได้มีการหารือในระดับนานาชาติ เช่น ในการประชุม World Health Assembly (WHA) ในปี 1998 ที่ประชุมได้มี resolution กระตุ้นให้ประเทศสมาชิกดำเนินการแก้ปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยา ในปี 2000 ... -
การบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย : ภาพรวมและประสบการณ์การใช้เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค และแบบฉายรังสีโคบอลต์-60 และเครื่องเพทซีที
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; จอมขวัญ โยธาสมุทร; ชนินทร์ สกุลอิสริยาภรณ์; สุวรรณา มูเก็ม; ปิยะอร แดงพยนต์; อรณัชชา เซ็นโส; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2554-12)การศึกษานี้มีเป้าหมายคือ เพื่อศึกษาภาพรวมของระบบการควบคุมและบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย และศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับการบริหารจัดการเทคโนโลยี 3 ชนิดที่ราคาแพง ได้แก่ เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค ... -
การพัฒนาการทบทวนทะเบียนตำรับยา กรณีศึกษายาแอสไพริน
วรสุดา ยูงทอง; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; วรรณนิษา เถียรทวี; นิพัทธ์ สุขแสนสำราญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553)การพัฒนาการทบทวนทะเบียนตำรับยา: กรณีศึกษายาแอสไพริน มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของประชาชนให้ได้บริโภคยาแอสไพรินที่มีคุณภาพมาตรฐานอย่างมีประสิทธิผล ปลอดภัย และเป็นการทดลองรูปแบบการพัฒนางานทบทวนทะเบียนตำรับยาให้ ... -
การวิเคราะห์สถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล
สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช; Luerat Anuratpanich; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; วิศัลย์ มูลศาสตร์; Visal Moolasart; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; ฐิติพงษ์ ยิ่งยง; Thitipong Yingyong; วันทนา ปวีณกิตติพร; Wantana Paveenkittiporn; พิทักษ์ สันตนิรันดร์; Pitak Santanirand; สุกัญญา นำสวัสดิ์; Sukanya Numsawad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพทั้งในและต่างประเทศ ศึกษาอุปสงค์และอุปทานของกำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ และคาดการณ์กำลังคนการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ... -
การศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; วีรวรรณ แตงแก้ว; วินิต อัศวกิจวิรี; พิสนธิ์ จงตระกูล; กัญญดา อนุวงศ์; สมหญิง พุ่มทอง; เขมวดี ขนาบแก้ว; ณัชธญา นิลพานิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2552-09)โครงการการศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use (Antibotics Smart Use ปีที่ 2 หรือ ASU II) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบที่เหมาะสมและผลสัมฤทธิ์ในการขยายโครงการ ASU สู่ความยั่งยืนในการลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรคเป้าหมาย ... -
การสำรวจระบบควบคุมและเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะและการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล : ผลการศึกษาเบื้องต้น
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; ภาณุมาศ ภูมาศ; ภูษิต ประคองสาย; Nithima Sumpradit; Saowalak Hunnangkul; Panumart Phumart; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการใช้ยาปฏิชีวนะ ระบบและกลไกการควบคุมและการเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะรวมทั้งมาตรการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา ... -
การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use : การศึกษาการขยายผลสู่ความยั่งยืนโดยการสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคม (พ.ศ. 2554 – 2556)
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)เชื้อแบคทีเรียดื้อยาจากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลได้กลายเป็นวิกฤตร่วมของคนทั่วโลก รวมทั้งของประเทศไทย เนื่องจากแบคทีเรียมีการปรับตัวให้ดื้อต่อยาปฏิชีวนะส่งผลให้ยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในปัจจุบันไม่มีประสิทธิภาพในการรักษา ... -
การเปรียบเทียบผลของการจ่ายและการไม่จ่ายยาปฏิชีวนะของร้านยาในโรคที่พบบ่อยต่อสุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วย
วิรัตน์ ทองรอด; Wirat Tongrod; กฤติน บัณฑิตานุกูล; Krittin Bunditanukul; กิติยศ ยศสมบัติ; Kitiyot Yotsombut; วราวุธ เสริมสินสิริ; Varavoot Sermsinsiri; ณีรนุช ทรัพย์ทวี; Niranut Subthawee; สมบัติ แก้วจินดา; Sombat Kaeochinda; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)ร้านยาเป็นแหล่งให้บริการด้านสุขภาพระดับปฐมภูมิที่สำคัญ แต่ร้านยาหลายแห่งยังจ่ายยาปฏิชีวนะในโรคที่พบบ่อยซึ่งส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องใช้ เช่น โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน โรคท้องร่วงเฉียบพลัน และแผลเลือดออก สาเหตุสำคัญ คือ ... -
คู่มือการประเมินการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการในโรงพยาบาล (EE-AMR Tool, Thailand)
สุริยะ วงศ์คงคาเทพ; Suriya Wongkongkathep; อมรรัตน์ วิจิตรลีลา; Amornrat Vijitleela; ณัฐวรรณ พละวุฑิโฒทัย; Nattawan Palavutitotai; ปริชาติ บุญรอด; Parichat Boonrod; นันทิยา สมเจตนากุล; Nuntiya Somjetanakul; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นปัญหาระดับโลก เชื้อสามารถสร้างกลไกที่ทำให้เกิดดื้อต่อยาและแพร่กระจายต่อไปได้เป็นวงกว้าง นอกจากนี้เชื้อดื้อยายังสามารถถ่ายทอดรหัสพันธุกรรมดื้อยาไปสู่เชื้อสายพันธุ์อื่นๆ ... -
บทเรียนจากการขยายผลสู่ความยั่งยืนของโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; กัญญดา อนุวงศ์; Kunyada Anuwong; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)โครงการ Antibiotics Smart Use (ASU) เริ่มในปี พ.ศ. 2550 โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีเป้าหมายเพื่อสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคมในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย งานวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึ ... -
ผลการรณรงค์โดยใช้ทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงและสื่อกระแสหลักต่อแนวคิดและบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)งานวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการรณรงค์แนวคิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antibiotic Smart Use: ASU) ผ่านสื่อบุคคลและสื่อกระแสหลัก และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกั ... -
มาตรการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ในประเทศไทย
ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)สถานการณ์เชื้อแบคทีเรียดื้อยามีแนวโน้มสูงขึ้นในโรงพยาบาล การมีมาตรการควบคุมโรคติดเชื้อ (Hospital Infection Control; IC) และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antimicrobial Stewardship Programs; ASP) จึงมีความสำคัญ ...