Browsing by Author "สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์"
Now showing items 1-20 of 67
-
The Last Mile of UHC in Thailand, Do We Reach the Vulnerable.
พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; จเร วิชาไทย; Charay Vichathai; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; Boonyawee Aueasiriwon; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; อุทุมพร วงษ์ศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-30)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมในหัวข้อ The last mile of UHC in Thailand, “Do we reach the vulnerable?” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560 วันที่ 30 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอน ... -
กรณีศึกษาเปรียบเทียบระบบดูแลผู้ป่วยภาวะไตวายเรื้อรัง อำเภอคลองขลุง จ.กำแพงเพชร และ อำเภอกงหรา จ.พัทลุง
ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; เกศทิพย์ บัวแก้ว; Kadethip Buakaew; สุดา ขำนุรักษ์; Suda Khumnurak; กวิน กลับคุณ; Kavin Klubkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)การขยายชุดสิทธิประโยชน์ความคุ้มครองแก่ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งแต่ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมานั้น มีผู้ป่วยเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในขณะที่ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการทด ... -
การขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ทัสนีย์ จันทร์น้อย; บุญชัย กิจสนาโยธิน; กฤติยา ศรีประเสริฐ; เทียม อังสาชน (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556-04-25)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร -
การจัดบริการและต้นทุนบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ผู้ป่วยระยะกลาง (Intermediate Care) ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพ
จเร วิชาไทย; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วัชรา ริ้วไพบูลย์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; นธีรัตน์ ธรรม์โรจน์; แพรว เอี่ยมน้อย; พัฒนาวิไล อินใหม (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดในสมองภายหลังถูกจำหน่ายจากโรงพยาบาลในจังหวัดตัวอย่างที่มีการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูฯ ค่อนข้างก้าวหน้า (กาฬสินธุ์ เลย ... -
การจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์ : ประเด็นข้อขัดแย้ง
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ถาวร สกุลพาณิชย์; Samrit Srithamrongsawat; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03) -
การจ่ายค่าบริการตามระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของประเทศไทยและต่างประเทศ
อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)การศึกษานี้เป็นการทบทวนวรรณกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (Diagnosis Related Group: DRG) ซึ่งเป็นระบบแบ่งกลุ่มผู้ป่วยแบบเฉียบพลัน พัฒนาโดย Robert Fetter และคณะ ที่มหาวิทยาลัยเยล ... -
การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของผู้ช่วยเหลือในชุมชน ภายใต้นโยบายการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ (caregiver) และกระบวนการในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หลังการมีนโยบายการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ... -
การตอบสนองผู้รับบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพและสถานบริการที่แตกต่างกัน
อังสุมาลี ผลภาค; ยงยุทธ พงษ์สุภาพ; วิชัย เอกพลากร; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; รัชนี สรรเสริญ; Aungsumalee Pholpark; Yongyuth Pongsupap; Wichai Aekplakorn; Samrit Srithamrongsawat; Rachanee Sunsern (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ระบุว่า ระบบสุขภาพจะต้องส่งเสริมคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันในสังคม แนวคิดนี้นำไปสู่ความพยายามที่จะวัดปฏิสัมพันธ์ที่เกิ ... -
การทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศในการพัฒนาระบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และบทเรียนสำหรับประเทศไทย
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; วรรณภา บำรุงเขต (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2556-02)รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศที่พัฒนาแล้วและของประเทศไทย ตลอดจนวิเคราะห์เปรียบเทียบจุดแข็งจุดอ่อนเพื่อสังเคราะห์เป็นข้อเสนอสำหรับการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของไทยโดยอ ... -
การบริหารจัดการการเงินการคลังระดับชุมชนเพื่อบริการสุขภาพ : แนวคิดและประสบการณ์จากต่างประเทศ, ทบทวนองค์ความรู
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)การบริหารจัดการการเงินการคลังระดับชุมชนเพื่อบริการสุขภาพ :แนวคิดและประสบการณ์จากต่างประเทศวัตถุประสงค์หลักของการคลังระดับชุมชน เพื่อบริการสุขภาพส่วนใหญ่เพื่อระดมทรัพยากรเพิ่มให้กับระบบบริการสาธารณสุขโดยอาศัยการมีส่วนร่วม ... -
การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศในเอเชียประเทศแรกที่สามารถให้หลักประกันสุขภาพกับประชาชนได้อย่างทั่วหน้า และมีวิวัฒนาการมากว่า 70 ปี ระบบประกันสุขภาพของญี่ปุ่นนั้นเกิดขึ้นก่อนระบบประกันสังคม ทั้งนี้ในระยะแรกของการพัฒนานั้นเกิดขึ้ ... -
การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)เกาหลีเป็นประเทศหนึ่งในเอเชียที่มีระดับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจสูงและเป็นสมาชิกของประเทศกลุ่มความร่วมมือด้านการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ (OECD) โดยสามารถให้หลักประกันสุขภาพกับประชาชนได้อย่างทั่วหน้าภายในระยะเวลาอันสั้นเพียง 12 ปี ... -
การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศสาธารณรัฐเยอรมัน
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันเป็นประเทศแรกที่ประสบความสำเร็จในการจัดหลักประกันด้านสังคมและสุขภาพให้แก่ประชาชนด้วยระบบประกันสังคมหรือประกันภาคบังคับ ปรัชญาและหลักการพื้นฐานสำคัญของระบบการเมืองเยอรมันคือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดีย ... -
การประเมินการให้บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินร่วมสามกองทุน ภายใต้นโยบาย เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน
ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ยาใจ อภิบุญโยภาส; สิรินาฏ นิภาพร; อรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล; วรรณภา บำรุงเขต; สุธีรดา ฉิมน้อย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555)รายงานนี้ได้ค้นพบหลักฐานในเบื้องต้น โดยมีสาระสำคัญดังนี้ 1. เป้าประสงค์เชิงนโยบาย ประชาชนทุกสิทธิเข้าถึงบริการโรงพยาบาลเอกชนนอกระบบเบิกจ่ายเดิมของสามกองทุนประกันสุขภาพ เมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉินเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลา 6 ... -
การประเมินตนเองของหน่วยบริการปฐมภูมิในการจัดบริการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางสำหรับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Srisornvichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)ภูมิหลังและเหตุผล โครงการวิจัยพัฒนารูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางได้พัฒนาแนวทางการจัดบริการสำหรับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและนำร่องการดำเนินการในคลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster: ... -
การประเมินนโยบายผ่าตัดแบบนัดหมายล่วงหน้าในโรงพยาบาลเอกชน ภายใต้ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; นพคุณ ธรรมธัชอารี; พัชนี ธรรมวันนา; สุธีรดา ฉิมน้อย; สิรินาฏ นิภาพร; พัฒนาวิไล อินใหม; ณัฐธิดา สุขเรืองรอง; Samrit Srithamrongsawat (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04-01)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการ แนวทางหรือรูปแบบการจัดกลไกกลางของระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศในการจัดระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูง นโยบายและการพัฒนาแนวทางหรือรูปแบบการจัดกลไกของระบบหลักประกัน ... -
การประเมินผลเบื้องต้น: ประสบการณ์การได้รับการดูแลแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Srisornvichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)โครงการวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ได้นำร่องการปรับรูปแบบและกระบวนการจัดบริการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิหรือคลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster: PCC) จำนวน 20 แห่งในการดูแ ... -
การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูง (Excellence Center) ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้เจียดเงินเหมาจ่ายรายหัวในหมวดงบลงทุนเพื่อการทดแทนส่วนหนึ่งมาพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูงด้านโรคมะเร็ง หัวใจ และการบาดเจ็บ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2455 โดยได้ลงทุนในโครงการดังกล่าวไปกว่า 2,000 ... -
การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ... -
การประเมินเพื่อพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค : การอภิบาล ศักยภาพ และประสิทธิผล
เพ็ญแข ลาภยิ่ง; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สุกัลยา คงสวัสดิ์; พันทิพย์ ธรรมสโรช; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; สุธีรดา ฉิมน้อย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-10)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในประเด็น การอภิบาลระบบการสร้างเสริมสุขภาพในระดับพื้นที่ (area based PP) ศักยภาพองค์กรในการอภิบาลระบบฯ และประสิทธิผลในการดำเนินงานตอบสนองต่อสภาพปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ...