Now showing items 1-14 of 14

    • R2R : ส่งเสริมการวิจัยบนพื้นฐานจริยธรรม 

      ปกรณ์ ศิริยง; Pakorn Siriyong (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-07-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 6 : สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มุมมอง HA ที่มีต่อ R2R: ส่งเสริมการวิจัยบนพื้นฐานจริยธรรม ...
    • การจัดลำดับความสำคัญและจัดทำแผนงานวิจัยด้านระบบบริการสุขภาพระดับชาติ 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-08-30)
      ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีการกำหนดยุทธศาสตร์งานวิจัยด้านระบบบริการสุขภาพในระดับประเทศ งานวิจัยส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นโครงการย่อยเฉพาะด้าน หรือเฉพาะประเด็น ทั้งนี้เพื่อเป็นไปตามความต้องการของนักวิจัย หรือแหล่งทุนสนับสนุน ...
    • การทบทวนวรรณกรรมการจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย 

      สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การวิจัยด้านสุขภาพมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน แต่ค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัยค่อนข้างสูงในขณะที่ทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด จึงจำเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการ รวมถึงการจัดลำดับความสำคัญของงานวิจัยด้ ...
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Lay person) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Layperson) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • ก่อนจะมาเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      เป้าหมายของการวิจัย คือ การสร้างความรู้ใหม่ หลักการของการวิจัย คือ จะต้องดำเนินการตามกฎเกณฑ์และวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการทุกขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ ผลผลิตที่สำคัญของการวิจัย คือ ข้อมูล (Data) ที่เชื่อถือได้ คำว่า ...
    • จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (2) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      หลังจากหนังสือ "จริยธรรมการวิจัยในนุษย์" เล่มแรกตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อเดือนสิงหาคม 2560 ผู้เขียนได้แปลเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์อีก 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับส ...
    • ต้นแบบเพื่อจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561 

      สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สำนักวิชาการสาธารณสุข; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลและการสนับสนุนงานวิจัยทางคลินิกของกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพในระดับ ...
    • ต้นแบบเพื่อจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 3 : พ.ศ. 2563 

      กระทรวงสาธารณสุข. สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาล และการสนับสนุนงานวิจัยทางคลินิกของกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพในระดั ...
    • ผลงานวิจัยระบบบริการสุขภาพในโรงพยาบาลของประเทศไทยภายใน 10 ปี (พ.ศ.2545 – 2555) 

      สมพร หุ่นเลิศ; Somporn Hunlert; ภาลดี ยิ้มแย้ม; Paladee Yimyam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลผลงานวิจัยระบบบริการสุขภาพในโรงพยาบาลของประเทศไทยที่มีมาตรฐาน โดยการเก็บข้อมูลผลงานวิจัยในหน่วยงาน/องค์กร และสถาบันการศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 – 2555 ทั้งหมดจำนวน ...
    • มาตรฐานและแนวทางการดำเนินการสำหรับการทบทวนพิจารณาจริยธรรมการวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556)
      เอกสารนี้จัดทำขึ้นสำหรับบุคคลและองค์กร ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ ได้แก่ การศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์, พฤติกรรมศาสตร์, สังคมศาสตร์ และการศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา เอกสารนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้คำแน ...
    • หลักเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (จีซีพี) สำหรับการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรม คำแนะนำภาคสนาม 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      องค์การอนามัยโลกได้เผยแพร่หลักเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (WHO GCP Guidelines) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ปีต่อมาที่ประชุมบรรสานสากล (International Conference on Harmonization: ICH) ได้ออกเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (ICH GCP ...
    • เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) พลิกโฉมงานวิจัยและนวัตกรรมมุ่งเป้า เพื่อตอบโจทย์ 4.0 

      จุไรรัตน์ พรหมใจ; Jurairat Phromjai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-14)
      เอกสารนำเสนอประกอบการเสวนา เรื่อง เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) พลิกโฉมงานวิจัยและนวัตกรรมมุ่งเป้า เพื่อตอบโจทย์ 4.0 และ ชี้แจงกรอบวิจัยมุ่งเป้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข เข้าใจ เข้าถึง รู้ทัน กรอบวิจัยมุ่งเป้า ...
    • เอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับโควิด-19 สำหรับภาคอุตสาหกรรม เจ้าหน้าที่สำนักงานอาหารและยาและภาคีอื่นๆ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      เมื่อเกิดการระบาดของโควิด-19 ตั้งแต่วันสิ้นปี พ.ศ. 2562 และแพร่ระบาดอย่างกว้างขวางจนองค์การอนามัยโลกได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 ทำให้เกิดผลต่อการวิจัยในมนุษย์ โดยเฉพาะการ ...