เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce)"
แสดงรายการ 1-20 จาก 94
-
Project Plus เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาศักยภาพครูฝึก O&M คนพิการทางการเห็นและผู้สูงอายุในชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)สืบเนื่องจากที่กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเสนอแผนปฏิบัติการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ด้านการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (Orientation and Mobility Training ... -
กลไก นโยบาย และบทบาทของส่วนต่างๆ ในสังคม เกี่ยวกับการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544-01) -
การกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)ปัญหาการความเหลื่อมล้ำของการกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ นับว่าเป็นปัญหาเรื้อรังของระบบบริการสุขภาพ ที่พบได้ในทุกพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีความขาดแคลนแพทย์ในภาพรวมอยู่แล้ว โดยปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายแ ... -
การคาดการณ์ความต้องการและการวางแผนกำลังคนสำหรับระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)การเปลี่ยนแปลงบริบทของประเทศและนโยบายต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อกำลังคนของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและระบาดวิทยา ส่งผลให้การเจ็บป่วยด้านอุบัติเหตุและฉุกเฉินเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง ... -
การติดตามประเมินผลชุดโครงการดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการ
(สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), มูลนิธิสร้างสรรค์สังคมและสุขภาวะ (มสส.), 2559-06)การติดตามประเมินผลชุดโครงการดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) โครงการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาทันตแพทย์และทีมทันตบุคลากรเพื่อดูแลสุขภาพช่องปากผู้พิการ ดำเนินการใน 3 จังหวัด (เชียงใหม่ ขอนแก่น และพิษณุโลก) ... -
การถอดบทเรียนการบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ผู้ป่วย COVID-19 ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้มีการขยายบริการสุขภาพ ซึ่งพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยและบริการสุขภาพด้านอื่นๆ ทำให้มีการบริหารอัตรากำลังและพัฒนาสมรรถนะที่แตกต่างกันตามบริบทของโรงพยาบาล การวิจัยแบบถอดบทเรียนนี ... -
การทบทวนระบบการผลิตแพทย์ที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของประชาชนภายใต้แผนงานพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-09)ระบบการผลิตแพทย์นับเป็นปัจจัยหนึ่งที่สําคัญต่อมาตรการด้านอุปทาน(Supply Side) ในการวางแผนกําลังคนด้านสุขภาพของแพทย์ ท่ามกลางปัญหาการขาดแคลนกําลังคนด้านสุขภาพของแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชนบท ตลอดระยะเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมา ... -
การทบทวนระบบธรรมาภิบาลในด้านการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพของประเทศไทย
(สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักงานพัฒนานโนบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข, 2559-03)การศึกษาเรื่องธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องกับกำลังคนด้านสุขภาพนั้นทั้งในระดับนานาชาติและระดับประเทศนั้นยังมีไม่มาก ในประเทศไทยได้มีการกล่าวถึงเรื่องธรรมาภิบาลกันอย่างกว้างขวางในช่วง 10-20 ปีที่ผ่านมา โดยแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ ... -
การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านสมรรถนะของบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยบริการปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)นับตั้งแต่ได้มีการปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศไทยและมีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2545 ได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบและโครงสร้างของหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ สำหรับการบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมินับว่ามีความสำคั ... -
การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านสมรรถนะและบทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)การดำเนินงานในหน่วยบริการปฐมภูมินั้น พยาบาลวิชาชีพถือว่าเป็นบุคคลสำคัญในการให้บริการดูแลด้านสุขภาพแก่ประชาชน ซึ่งต้องทำหน้าที่เสมือนพยาบาลประจำครอบครัวที่มีหน้าที่ในการดูแลไม่เฉพาะผู้ป่วยทั้งที่เป็นกลุ่มโรคทั่วไปและโรครื ... -
การบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินีและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กรณีถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)การศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) กรณีถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ ... -
การบริหารจัดการและการสนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-09)ในปัจจุบันการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ในเขตชนบทเป็นปัญหาประการสำคัญของการใช้ทรัพยากรบุคคลทางการแพทย์ที่มีอยู่ในประเทศไทย การจัดสรรบุคลากรเข้าสู่เขตชนบทประสบความสำเร็จอย่างน่าพอใจ แต่บุคลากรส่วนใหญ่เหล่านั้นก็ย้ายออกภายใน ... -
การประเมินระบบฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดเชิงนโยบายกำลังคนด้านสุขภาพ (HRH Code Indicators)
(สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP.), 2559-03)การศึกษานี้ พยายามทบทวนสถานการณ์ข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพในประเทศไทย รวมถึงการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดกำลังคนด้านสุขภาพ จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพหลากหลายแหล่ง ... -
การประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID-19 ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพของบุคลากรและระบบสุขภาพในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย ในพื้นที่อำเภอชายแดนจังหวัดเชียงราย คือ ... -
การประเมินศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) กับยุทธศาสตร์การพัฒนา กรณีศึกษาอาสาสมัครสาธารณสุข 16 กรณี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)การศึกษานี้ต้องการประเมินศักยภาพที่ดำรงอยู่ของอสม.ในประเทศไทยที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมและสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการสังเคราะห์ความรู้จากการทบทวนสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งจากเอกสารและการประชุมเชิงปฏิ ... -
การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการจ้างพยาบาลเกษียณอายุในสถานบริการสุขภาพ สังกัดภาครัฐ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานโยบายในการจ้างงานพยาบาลเกษียณอายุในสถานบริการสุขภาพ สังกัดภาครัฐ โดยมีรูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน โดยมีขั้นตอนดำเนินการดังนี้ 1) ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการจ้างงานและสถานการณ์การจ้างงาน ... -
การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างแรงจูงใจของกำลังคนด้านสุขภาพต่อการทำงานในพื้นที่ห่างไกล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ปัญหาความขาดแคลนกำลังคนทางด้านสุขภาพในเขตพื้นที่ชนบทหรือพื้นที่ห่างไกล เป็นปัญหาที่เรื้อรังเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน ทางแก้ปัญหาทางหนึ่งคือการใช้แรงจูงใจที่เหมาะสมและสามารถจูงใจให้บุคลากรทางการแพทย์เต็มใจทำงานในพื้นที่ห่างไกล ... -
การพัฒนาชุมชนแนวปฏิบัติการ (CoP) ด้านภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554) -
การพัฒนาตัวชี้วัดหลักกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) ภายใต้มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2564-04)การศึกษานี้มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดหลักในเรื่องกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย โดยจะครอบคลุมถึงการจัดทำมาตรฐานข้อมูลและหน่วยงานที่เกี่ยวของในแต่ละตัวชี้วัดดังกล่าว และพัฒนาข้อเสนอความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบการ ... -
การพัฒนานักสื่อสารสุขภาพไทใหญ่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ“การพัฒนานักสื่อสารสุขภาพไทใหญ่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่” เป็นโครงการหนึ่งภายใต้แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน ที่มุ่งเน้นการพัฒนาระบบการสื่อสารสุขภาพในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและมีภาษา ...