Now showing items 1-20 of 41

    • กรอบการวิจัย สวรส. ปี 2562 ประเด็นวิจัย : Service delivery, Workforce, Governance 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นวิจัย การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ระบบบริการ และระบบอภิบาลสุขภาพ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • กลไก นโยบาย และบทบาทของส่วนต่างๆ ในสังคม เกี่ยวกับการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; Somsak Chunharas; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; Pintusorn Hempisut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544-01)
    • การกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamrangsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ปัญหาการความเหลื่อมล้ำของการกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ นับว่าเป็นปัญหาเรื้อรังของระบบบริการสุขภาพ ที่พบได้ในทุกพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีความขาดแคลนแพทย์ในภาพรวมอยู่แล้ว โดยปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายแ ...
    • การคาดการณ์กำลังคนทางด้านอาชีพสัตวแพทย์ ปี พ.ศ. 2568 

      ศุกลรัตน์ บุณยยาตรา; Sukolrat Boonyayatra; สุวิชา เกษมสุวรรณ; Suwicha Kasemsuwan; วลาสินี มูลอามาตย์; Walasinee Moonarmart; กนกอร เอื้อเกษมสิน; Ganokon Urkasemsin; ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล; Panuwat Yamsakul; ศิริพร เพียรสุขมณี; Siriporn Peansukmanee; ปริวรรต พูลเพิ่ม; Pariwat Poolperm; ชัยกร ฐิติญาณพร; Chaiyakorn Thitiyanaporn; ชูชาติ กมลเลิศ; Chuchart Kamollerd; กัลยา เจือจันทร์; Kanlaya Chauchan; เจษฎา จิวากานนท์; Jatesada Jiwakanon; พงษ์ศิวะ โสตถิพันธุ์; Pongsiwa Sotthibandhu; อภิรดี อินทรพักตร์; Apiradee Intarapuk; พรรณนิการ ชัยชนะศักดิ์; Pannigan Chaichanasak; ทนงศักดิ์ มะมม; Thanongsak Mamom; อุตรา จามีกร; Uttra Jamikorn; เกรียงยศ สัจจเจริญพงษ์; Kriengyot Sajjarengpong; พรชลิต อัศวชีพ; Pornchalit Assavacheep; ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย; Chaiwut Tangsomchai; มานัดถุ์ คำกอง; Manad Khamkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      อาชีพสัตวแพทย์เป็นอาชีพหลักที่ให้บริการด้านสุขภาพสัตว์ บริการทางด้านสัตวแพทย์นั้น ไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของสัตว์เท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ผ่านบทบาทที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหารและการควบคุมโร ...
    • การคาดการณ์กำลังคนสำหรับการวางแผนอัตรากำลังเภสัชกรในประเทศไทย 

      พิศาลสิทธ์ ธนวุฒิ; Pisansit Thanawut; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกล่าวถึงวิธีการคาดการณ์กำลังคน และการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตรากำลังเภสัชกรที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ วิธีการกำหนดอัตรากำลังคนเป็นส่วนสำคัญของการคาดการณ์กำลังคน ซึ่งมีหลายวิธี เช่น ...
    • การคาดการณ์กำลังคนในกลุ่มทันตบุคลากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทยมีการประมาณการความต้องการทันตบุคลากรหลายครั้ง วิธีการหลักที่ใช้ประมาณการความต้องการทันตแพทย์อ้างอิงจากสภาวะทันตสุขภาพของประชากรแล้วนำมาแปลงเป็นบริการที่ประชากรควรได้รับในมุมมองของทันตแพทย์ และยังไม่พบการประมาณการฯ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ: ฐานที่สำคัญในการวางแผนกำลังคน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์สำหรับรองรับการตัดสินใจ ดังนั้นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อจะนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาความไ ...
    • การทบทวนระบบธรรมาภิบาลในด้านการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพของประเทศไทย 

      นารีรัตน์ ผุดผ่อง; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์ (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักงานพัฒนานโนบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข, 2559-03)
      การศึกษาเรื่องธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องกับกำลังคนด้านสุขภาพนั้นทั้งในระดับนานาชาติและระดับประเทศนั้นยังมีไม่มาก ในประเทศไทยได้มีการกล่าวถึงเรื่องธรรมาภิบาลกันอย่างกว้างขวางในช่วง 10-20 ปีที่ผ่านมา โดยแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านสมรรถนะของบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      ประกาย จิโรจน์กุล; จุรีรัตน์ กิจสมพร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      นับตั้งแต่ได้มีการปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศไทยและมีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2545 ได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบและโครงสร้างของหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ สำหรับการบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมินับว่ามีความสำคั ...
    • การทบทวนสถานการณ์ระบบการสร้าง พัฒนาและจัดการบุคลากรด้านสาธารณสุขตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2552 และแนวโน้มในอนาคต 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; วิไลลักษณ์ เรืองรัตนตรัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05-31)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเป็นเจตจำนงและพันธะร่วมกันของสังคม เพื่อให้ทุกภาคส่วนใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ ที่ทุกภาคส่วนใช้เป็นกรอบอ้างอิงในการจัดทำแผนโดยพระราช ...
    • การบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Puthasri; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; วลัยพร พัชรนฤมล; Waliporn Patcharanarumol; รายิน อโรร่า; Rajin Arora; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุนโดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่มผู้มีส ...
    • การประเมินระบบฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดเชิงนโยบายกำลังคนด้านสุขภาพ (HRH Code Indicators) 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ตวงทิพย์ ธีระวิทย์; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; Tuangtip Theerawit (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP.), 2559-03)
      การศึกษานี้ พยายามทบทวนสถานการณ์ข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพในประเทศไทย รวมถึงการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดกำลังคนด้านสุขภาพ จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพหลากหลายแหล่ง ...
    • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขในประเทศไทย 

      เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ; พินทุสร เหมพิสุทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ระบบข้อมูลบุคลากรสาธารณสุข (Human Resources in Health Information System) มีความจำเป็นสำหรับนักวางแผนในการกำหนดปริมาณและความต้องการกำลังคนในอนาคต รวมทั้งจำเป็นสำหรับผู้สอนที่จำเป็นต้องมีข้อมูลความต้องการในการฝึกอบรมและพั ...
    • การวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับทุติยภูมิของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาครั้งนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อวิเคราะห์และพยากรณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในการให้บริการทางสุขภาพระดับทุติยภูมิ โดยการวิเคราะห์ก ...
    • การวิเคราะห์งาน การจัดอัตรากำลัง และความก้าวหน้าของบุคลากรในระดับบริหารในหน่วยงานบริหารสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai; จุรีรัตน์ กิจสมพร; Jureerat KijSomporn; จุฬารัตน์ ห้าวหาญ; สุรศักดิ์ สุนทร; วิไลลักษณ์ เรืองรัตนตรัย; Wilailuk Ruangrattanatrai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06-30)
      รายงานฉบับนี้ จัดทำขึ้น เพื่อรายงานผลการดำเนินงานภายใต้โครงการการวิเคราะห์งาน การจัดอัตรากำลัง และความก้าวหน้าของบุคลากรในระดับบริหารในหน่วยงานบริหารสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค (ระดับเขตบริการสุขภาพ จังหวัด และอำเภอ) ...
    • การศึกษาทิศทางการผลิตกำลังคนสายสาธารณสุขภายใต้การผลิตของหน่วยงานสถาบันพระบรมราชชนก 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; เบญจพร รัชตารมย์; Benjaporn Ratchatarom; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; ศุทธินี วัฒนกูล; สุรศักดิ์ สุนทร; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; รุ่งนภา จันทรา; ศรีจันทร์ พลับจั่น; นภชา สิงห์วีรธรรม; แสงโฉม ถนอมสิงห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      จากการเปลี่ยนแปลงระบบบริการสุขภาพ การผลิตกำลังคนที่มีคุณลักษณะขีดความสามารถในการทำหน้าที่จึงควรมีความสอดคล้องกับสถานการณ์หรือระบบสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป สถาบันพระบรมราชชนก เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการผลิตและพัฒนากำลังค ...
    • การศึกษาผลกระทบต่อการจัดบริการสุขภาพและกำลังขวัญของพยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      สุวรรณี เนตรศรีทอง; Suwanee Natesrithong; ปฐมามาศ โชติบัณ; Phathomat Chotiban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อศึกษาผลกระทบต่อการจัดบริการสุขภาพและการหาแนวทางในการแก้ปัญหาการจัดบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน 26 แห่ง และสถานีอนามัย 323 แห่ง วัตถุประสงค์เฉพาะ ...
    • การศึกษารูปแบบการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในภาครัฐของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Repeepong Suphanchaimat; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat; ปิติยา สันทัด; Pitiya Santad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ปัจจุบันภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรแบบข้าราชการ เพื่อลดภาระงบประมาณและปรับบทบาทการทำงานของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและความคล่องตัวมากขึ้น นโยบายดังกล่าวส่งผลไม่เพียงแต่บุคลากรสนับสนุนบริการสุขภาพ แต่รวมถึงวิชาชี ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาบทบาทของวิทยาลัยภายใต้พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนกในการสร้างความเข้มแข็งของบุคลากรสาธารณสุขสำหรับการสนับสนุนทีมหมอครอบครัว 

      อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์; Atcharawadee Sriyasak; จินตนา ทองเพชร; Jintana Tongpeth; วารุณี เกตุอินทร์; Varunee Ketin; ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; เบญจพร รัชตารมย์; Benjaporn Rajataram; บุญเรือง ขาวนวล; Bunrean Kaonuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดนโยบายคลินิกหมอครอบครัวเพื่อการพัฒนาบริการปฐมภูมิ และผลักดันให้มีพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 ทำให้มีการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องการเข้า ...
    • การสาธารณสุขไทยกับการวางแผนกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในปี พ.ศ. 2569 

      รัชนี จันทร์เกษ; Rutchanee Chantraket; ปราโมทย์ เสถียรรัตน์; Pramote Stienrut; ทวี เลาหพันธ์; Tawee Laohapan; วัฒนศักดิ์ ศรรุ่ง; Wattanasak Sornrung; ศรัณยา จันษร; Sarunya Jansorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาสถานการณ์กำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในสถานบริการภาครัฐ การผลิตกำลังคนในสถาบันการศึกษา และความต้องการกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อนำไปสู่การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนในอนาคต เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) ...