Browsing by Subject "ประกันสุขภาพ"
Now showing items 1-20 of 52
-
The Last Mile of UHC in Thailand : Do We Reach the Vulnerable
(Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University, 2560-01-30)เอกสารประกอบการประชุมในหัวข้อ The last mile of UHC in Thailand, “Do we reach the vulnerable?” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560 วันที่ 30 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ... -
The Last Mile of UHC in Thailand, Do We Reach the Vulnerable.
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-30)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมในหัวข้อ The last mile of UHC in Thailand, “Do we reach the vulnerable?” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560 วันที่ 30 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอน ... -
กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)การศึกษาเรื่อง “กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไก กระบวนการร้องเรียน การช่วยเหลือเบื้องต้นประสิทธิภาพ ... -
การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในส่วนของการประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)ในปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลได้ผลักดันพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 บังคับใช้เพื่อให้เจ้าของรถทุกคันต้องร่วมรับผิดชอบต่ออุบัติเหตุจากรถที่อาจจะเกิดขึ้น โดยกำหนดให้รถทุกคันต้องตัดให้มีการประกันภัยต่อความเสียหายในร่างกาย ... -
การจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-09)ผลการศึกษาเรื่องการจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกและกระบวนการให้ข้อมูลขององค์กรในระบบหลักประกันสุขภาพ ตลอดจนศึกษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกลไกและกระบวนการ ... -
การจัดทำหลักเกณฑ์ราคาเบิกจ่ายยา: กรณีส่งต่อผู้ป่วยนอก/พิการ/อุบัติเหตุและฉุกเฉินของ สปสช. เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำหลักเกณฑ์การกำหนดราคาเบิกจ่ายค่ายาผู้ป่วยนอกให้แก่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร เฉพาะกรณีส่งต่อ อุบัติเหตุ ฉุกเฉินและผู้พิการ การวิจัยนี้ใช้แนวคิดสำคัญ 3 ... -
การจัดบริการทันตสุขภาพภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนวิถีชีวิตและความเชื่อของประชาชนส่งผลต่อทันตสุขภาพของประชาชนไทย วิถีชีวิตบางอย่างทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น โดยเฉพาะการบริโภคน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น ... -
การจัดหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมถึงผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนไทยที่อยู่บนแผ่นดินไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)รายงานวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาอยู่สามประการหลัก ประการแรก เพื่อทบทวนประสบการณ์การจัดหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมถึงผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนที่อยู่บนแผ่นดิน ประการที่สอง สำรวจการจัดระบบหลักประกันสุ ... -
การดำเนินการและการปรับตัวของโครงการประกันสังคม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)รายงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์การศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงการดำเนินงานของสำนักงานประกันสังคมซึ่งเป็นผู้บริหารกองทุนประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทนผู้ประสบภัยจากการทำงานในส่วนของการให้ความคุ้มครองด้านสุขภาพแก่ผู้ประกันตนและลูกจ้าง ... -
การติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)รายงานฉบับนี้เป็นผลจากการติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2544 - มิถุนายน พ.ศ. 2545 ซึ่งตามกรอบการศึกษา จะให้ความสำคัญกับกลไก (mechanism) และกระบวนการ (process) ในการดำเนินการ ... -
การติดตามประเมินผลโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค จังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก นครราชสีมา ศรีสะเกษ ปทุมธานี สระบุรี ภูเก็ต และภาพรวมการข้ามเขตกับ คุณภาพบริการของ 21 จังหวัดนำร่อง ปี 2544-2545 (ครึ่งปี)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การศึกษาและติดตามโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค จังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก นครราชสีมา ศรีสะเกษ ปทุมธานี สระบุรี ภูเก็ตและภาพรวมการข้ามเขตกับคุณภาพบริการของ 21 จังหวัดนำร่อง ปี 2544 - 2545 (ครึ่งปี) ... -
การทบทวนวรรณกรรมกระบวนการมองอนาคตที่เกี่ยวข้องกับระบบหลักประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)การสร้างภาพอนาคต (scenario) เป็นวิธีการมองอนาคต (foresight) อย่างหนึ่งที่มีรากฐานมาจากวิธีการเดียวกันของ future study แต่มีที่จุดเด่นของการมองอนาคตแบบ foresight กล่าวคือเน้นให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมและพยายามประมวลควา ... -
การทบทวนและระดมความคิดเห็นเพื่อสังเคราะห์ประเด็นการวิจัยเรื่อง "โครงการสงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยด้านบริการสุขภาพ"
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)การทบทวนและระดมความคิดเห็นเพื่อสังเคราะห์ประเด็นการวิจัยเรื่อง"โครงการสงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยด้านบริการสุขภาพ" การศึกษาครั้งนี้เพื่อสังเคราะห์ประเด็นวิจัยที่มีลำดับความสำคัญสูง และความเร่งด่วนมากในการแก้ไขปัญหาของโครงกา ... -
การประกันสุขภาพและความล่าช้าในการเข้าถึงและรับการดูแลรักษาของผู้ป่วยวัณโรคที่เป็นแรงงานข้ามชาติชาวพม่าในพื้นที่ชายแดนของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)บทนำ วัณโรคเป็นหนึ่งในโรคติดต่อที่เป็นภาระต่อสุขภาพ สังคมและเศรษฐกิจของโลกโดยเฉพาะในประเทศที่ประชาชนมีรายได้ต่ำและปานกลางรวมถึงประเทศไทย วัณโรคเกิดจากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis สามารถแพร่จากผู้ติดเชื้อไปยังผู้อื่นผ ... -
การประมาณสถานการณ์ด้านการเงินของสถานพยาบาล ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในปี 2545
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)ในการดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายด้านต่อสถานพยาบาล ส่วนหนึ่งคือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดสรรงบประมาณจากระบบเดิมไปสู่ระบบการเหมาจ่ายตามประชากรที่ขึ้นทะเบียนกับสถานพยาบาล ... -
การวิจัยจากเอกสารเพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและผลลัพธ์ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูงที่แผนกผู้ป่วยนอกระหว่างกองทุนประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)โรคความดันโลหิตสูงอยู่ในกลุ่มโรคเรื้อรังที่พบบ่อยที่สุดโรคหนึ่งในประเทศไทย ซึ่งทำให้เกิดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่สูงมาก สืบเนื่องจากต้นทุนนี้เอง ทำให้ความกังวลเกี่ยวกับเรื่องประสิทธิภาพของการรักษาโรคความดันโลหิตสูงจึงได้ถ ... -
การวิเคราะห์กิจกรรมการให้บริการ และสถานการณ์ทางการเงินของสถานพยาบาลภายใต้ โครงการหลักประกันสุขภาพ ช่วงเดือนตุลาคม 2544-มีนาคม 2545
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)จากการปฏิรูประบบการคลังภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค ครบทั้งประเทศ ในปีงบประมาณ 2545 ได้ส่งผลกระทบต่อสถานะการเงินและพฤติกรรมการให้บริการของสถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อให้ได้ภาพที่แสดงให้ ... -
การวิเคราะห์ผลกระทบและประเมินผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค) ได้รับความสนใจอย่างมากจากทั้งภาครัฐและภาคประชาชนตั้งแต่ระยะแรกเริ่มจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเป็นโครงการที่มีผลกระทบต่อผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการรักษาพยาบาลอย่างกว้างขวาง ... -
การศึกษาประสิทธิผลของการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตปทุมวัน ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และเพื่อศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อบริก ... -
การศึกษาผลของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลต่อการเสริมพลังอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2554-09)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกองทุนสุขภาพตำบลในการเสริมพลังอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน รวมถึงกับปรับตัวในการทำงานของบุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เนื่องจากบริบทและสภาพ ...