Browsing by Subject "ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)"
Now showing items 1-20 of 121
-
Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)ความเป็นมา: การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคนิค ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์และมีปัจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จ วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปบทเรียนการทำงานขององค์การเภสัชกรรม ... -
การขยายผลการใช้งานต้นแบบเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเดินหายใจในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)จากที่คณะวิจัยได้มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วยติดเชื้อ (Patient Isolation Chamber for Home & Community Isolation) หรือ “ไฮพีท HI PETE” ขึ้นมาในช่วงสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ... -
การควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-25)โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ วิจัยประเด็นวิชาการ เศรษฐกิจ และสังคม เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ ... -
การตรวจวัดปริมาตรเลือดออกในสมองและระยะเคลื่อนของร่องกลางสมองโดยอัตโนมัติเพื่อช่วยแพทย์วินิจฉัยก่อนผ่าตัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)โรคเลือดออกในสมองเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากภาวะที่หลอดเลือดในสมองหรือหลอดเลือดระหว่างกระดูกและสมองแตกออก ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น อุบัติเหตุ โรคความดันโลหิตสูง โรคนี้จำเป็นต้องมีการวินิจฉัยอย่างทันท่วงทีหากมีอาการนำ เช่น ... -
การตอบสนองและกลไกการดื้อยาต่อกลุ่มอนุพันธ์ artemisinin และยาต้านมาลาเรียที่ใช้ร่วมในเชื้อ Plasmodium falciparum
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-11-11)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความไวต่อยาต้านมาลาเรียกลุ่มอนุพันธ์ artemisinin และยาที่ใช้ร่วมใน artemisinin derivative based combination therapy (ACT) และลักษณะทางพันธุกรรมของการดื้อยาในเชื้อ Plasmodium falciparum ... -
การถอดรหัสพันธุกรรมทั้งจีโนมและการศึกษาองค์ประกอบทางชีววิทยาโอมิกส์ ในชิ้นเนื้อและเลือด นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมชุดตรวจเพื่อการคัดกรอง วินิจฉัย การรักษาแบบเฉพาะบุคคล และการติดตามการรักษาในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดที่ไม่มียีนกลายพันธุ์เฉพาะสำหรับยามุ่งเป้า ปี 2564
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)ปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งปอดมีหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการให้ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิม หรือการรักษาแบบมุ่งเป้า หรือการรักษาด้วยยาภูมิคุ้มกันบำบัด ซึ่งเป็นวิธีการรักษาแบบใหม่ และได้ผลดีมาก โดยเพิ่มอัตราการรอดชีวิต รวมถึงเพิ่มอัต ... -
การทำนายการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปี โดยการตรวจดอพเลอร์หลอดเลือดแดงยูเทอรีนร่วมกับ การวัดระดับของ fms-like tyrosine kinase (sflt-1) , placental growth factor ( PlGF) และ pregnancy- associated plasma protein-A (PAPP-A)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้ดอพเลอร์อัลตราซาวน์ ตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงยูเทอรีน ร่วมกับการตรวจวัดระดับของ sflt-1( Soluble fms-like tyrosine kinase-1 ) PlGF (Placenta growth factor) และPAPP-A ... -
การบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย : ภาพรวมและประสบการณ์การใช้เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค และแบบฉายรังสีโคบอลต์-60 และเครื่องเพทซีที
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2554-12)การศึกษานี้มีเป้าหมายคือ เพื่อศึกษาภาพรวมของระบบการควบคุมและบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย และศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับการบริหารจัดการเทคโนโลยี 3 ชนิดที่ราคาแพง ได้แก่ เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค ... -
การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 : ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดหาเวชภัณฑ์เกี่ยวกับโรค COVID-19 ได้แก่ วัคซีน ... -
การปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)ประเทศไทยยังขาดระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพและต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศและมีแนวโน้มที่สูงขึ้น พึ่งพาตนเองได้น้อย ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูป ... -
การประดิษฐ์อุปกรณ์สำหรับประเมินความสามารถในการทรงตัวและให้ข้อมูลป้อนกลับ (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05)การศึกษาวิจัยนี้เป็นการประดิษฐ์อุปกรณ์สำหรับประเมินการทรงตัวและให้ข้อมูลป้อนกลับ ปีที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานของอุปกรณ์ โดยการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ของอุปกรณ์ ในอาสาสมัครที่มีอายุอยู่ในช่วง ... -
การประยุกต์ใช้สาร (1->3)-เบต้า-ดี-กลูแคน: ตัวชี้วัดทางชีวภาพเพื่อการตรวจติดตามโรคพิทิโอซิสในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแบบ immunotherapy
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-10)พิเทียม อินซิดิโอซุ่ม เป็นเชื้อก่อโรคพิทิโอซิสซึ่งมีอันตรายถึงแก่ชีวิต พยาธิสภาพในหลอดเลือดแดงและกระจกตาเป็นลักษณะอาการทางคลินิกที่พบได้บ่อย โดยกลุ่มที่ติดเชื้อในหลอดเลือดแดงส่วนใหญ่มีโรคทาลัสซีเมียเป็นโรคประจำตัว ... -
การประเมินประสิทธิผลการใช้ระบบ CARE-call ในการติดตามการรับประทานยาเพื่อเพิ่มความสม่ำเสมอในการรับประทานยาและลดอัตราการขาดยาวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02)ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 14 ประเทศที่องค์การอนามัยโลกรายงานว่ามีปัญหาด้านวัณโรค วัณโรค/เอช-ไอวี และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน การขาดความใส่ใจในการรักษาอย่างสม่ำเสมอ (Poor adherence) ทำให้การรักษาใช้เวลานานขึ้น มีปัญหาการดื้อยา ... -
การประเมินเทคโนโลยีการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม : มุมมองด้านเศรษฐศาสตร์และสังคม
(โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพศูนย์ศิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ, 2552-06)Hearing loss leads to a loss of communication though speech with most people and an inability to develop social relationships with other people. This leads to an acceptance of a lower standard of quality of life. Parents ... -
การปรับปรุงประสิทธิภาพและขยายผลเทคโนโลยี TaWai for Health เพื่อการรายงานและแจ้งเตือนข้อมูลคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-10)โครงการวิจัยการปรับปรุงประสิทธิภาพและขยายผลเทคโนโลยี TaWai for Health เพื่อการรายงานและแจ้งเตือนข้อมูลคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็นการวิจัยเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและขยายผลระบบ web application TaWai for Health ... -
การปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของชุดสวมใส่พร้อมระบบติดตามและแอปพลิเคชัน เพื่อพยุงกล้ามเนื้อและลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บสำหรับผู้สูงอายุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)กลุ่มผู้สูงอายุล้วนเริ่มมีภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย กล้ามเนื้ออ่อนแรงลง มีภาวะทางกระดูกและข้อ อาจมีผลต่อระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะยาวและส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตได้ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว คณะวิจัยได้ศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยี ... -
การพัฒนาการตรวจตามแนววิเคราะห์สารพันธุกรรมตลอดส่วนการแสดงออกทารกชาวไทยที่มีภาวะดีซ่านแบบน้ำดีคัดคั่ง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการนำเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับสารพันธุกรรมใหม่ (Next Generation Sequencing) มาใช้ในกระบวนการวินิจฉัยทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยซึ่งมีภาวะดีซ่านชนิดน้ำดีคัดคั่งในวัยทารก เน้นศึกษากลุ่มผู้ป่ว ... -
การพัฒนาการตรวจวิเคราะห์ระดับโมเลกุลเพื่อบ่งชี้การตอบสนองต่อการรักษาแบบจำเพาะบุคคลในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชาวไทย (ปีที่ 3)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-07)โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญของประชากรไทย การรักษาโรคมะเร็งแบบจำเพาะต่อบุคคล (personalized cancer medicine) ด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้า (targeted therapy) เป็นแนวทางการรักษาแนวใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงในการทำลายเซลล์มะเร็ง ... -
การพัฒนาการผลิตชีวภัณฑ์ซุปเปอร์มอสTM ในเชิงอุตสาหกรรม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04)การศึกษาวิจัยในโครงการนี้มีวัตถุประสงค์โดยรวมเพื่อพัฒนาการผลิตชีวภัณฑ์ซุปเปอร์มอสTM หรือยุงลายเพศผู้ที่ผ่านการทำหมันด้วยการฉายรังสีและ/หรือการถ่ายโอนแบคทีเรีย Wolbachia ในระดับอุตสาหกรรม เพื่อให้ได้ชีวภัณฑ์ฯ ปริมาณมาก ... -
การพัฒนาการวินิจฉัยมะเร็งระดับรายบุคคลโดยใช้เทคโนโลยีโอมิกส์ร่วมกับการพยากรณ์ระดับการตอบสนองต่อยาในเซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงตัวแทนผู้ป่วย (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)การแพทย์แบบแม่นยำ ได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง โดยมีหัวใจหลักอยู่ที่การรวบรวมลักษณะความแตกต่างในระดับโมเลกุลของผู้ป่วยมะเร็งที่มีลักษณะทางพันธุศาสตร์แบบต่าง ๆ ทั้งจากความแตกต่างของเผ่าพันธุ์และที่เกิดขึ้นใหม่ ...