Browsing by Subject "ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)"
Now showing items 1-20 of 54
-
Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)ความเป็นมา: การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคนิค ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์และมีปัจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จ วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปบทเรียนการทำงานขององค์การเภสัชกรรม ... -
การควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-25)โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ วิจัยประเด็นวิชาการ เศรษฐกิจ และสังคม เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ ... -
การตรวจวัดปริมาตรเลือดออกในสมองและระยะเคลื่อนของร่องกลางสมองโดยอัตโนมัติเพื่อช่วยแพทย์วินิจฉัยก่อนผ่าตัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)โรคเลือดออกในสมองเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากภาวะที่หลอดเลือดในสมองหรือหลอดเลือดระหว่างกระดูกและสมองแตกออก ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น อุบัติเหตุ โรคความดันโลหิตสูง โรคนี้จำเป็นต้องมีการวินิจฉัยอย่างทันท่วงทีหากมีอาการนำ เช่น ... -
การตอบสนองและกลไกการดื้อยาต่อกลุ่มอนุพันธ์ artemisinin และยาต้านมาลาเรียที่ใช้ร่วมในเชื้อ Plasmodium falciparum
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-11-11)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความไวต่อยาต้านมาลาเรียกลุ่มอนุพันธ์ artemisinin และยาที่ใช้ร่วมใน artemisinin derivative based combination therapy (ACT) และลักษณะทางพันธุกรรมของการดื้อยาในเชื้อ Plasmodium falciparum ... -
การทำนายการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปี โดยการตรวจดอพเลอร์หลอดเลือดแดงยูเทอรีนร่วมกับ การวัดระดับของ fms-like tyrosine kinase (sflt-1) , placental growth factor ( PlGF) และ pregnancy- associated plasma protein-A (PAPP-A)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้ดอพเลอร์อัลตราซาวน์ ตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงยูเทอรีน ร่วมกับการตรวจวัดระดับของ sflt-1( Soluble fms-like tyrosine kinase-1 ) PlGF (Placenta growth factor) และPAPP-A ... -
การบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย : ภาพรวมและประสบการณ์การใช้เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค และแบบฉายรังสีโคบอลต์-60 และเครื่องเพทซีที
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2554-12)การศึกษานี้มีเป้าหมายคือ เพื่อศึกษาภาพรวมของระบบการควบคุมและบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย และศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับการบริหารจัดการเทคโนโลยี 3 ชนิดที่ราคาแพง ได้แก่ เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค ... -
การปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)ประเทศไทยยังขาดระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพและต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศและมีแนวโน้มที่สูงขึ้น พึ่งพาตนเองได้น้อย ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูป ... -
การประดิษฐ์อุปกรณ์สำหรับประเมินความสามารถในการทรงตัวและให้ข้อมูลป้อนกลับ (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05)การศึกษาวิจัยนี้เป็นการประดิษฐ์อุปกรณ์สำหรับประเมินการทรงตัวและให้ข้อมูลป้อนกลับ ปีที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานของอุปกรณ์ โดยการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ของอุปกรณ์ ในอาสาสมัครที่มีอายุอยู่ในช่วง ... -
การประยุกต์ใช้สาร (1->3)-เบต้า-ดี-กลูแคน: ตัวชี้วัดทางชีวภาพเพื่อการตรวจติดตามโรคพิทิโอซิสในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแบบ immunotherapy
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-10)พิเทียม อินซิดิโอซุ่ม เป็นเชื้อก่อโรคพิทิโอซิสซึ่งมีอันตรายถึงแก่ชีวิต พยาธิสภาพในหลอดเลือดแดงและกระจกตาเป็นลักษณะอาการทางคลินิกที่พบได้บ่อย โดยกลุ่มที่ติดเชื้อในหลอดเลือดแดงส่วนใหญ่มีโรคทาลัสซีเมียเป็นโรคประจำตัว ... -
การประเมินประสิทธิผลการใช้ระบบ CARE-call ในการติดตามการรับประทานยาเพื่อเพิ่มความสม่ำเสมอในการรับประทานยาและลดอัตราการขาดยาวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02)ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 14 ประเทศที่องค์การอนามัยโลกรายงานว่ามีปัญหาด้านวัณโรค วัณโรค/เอช-ไอวี และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน การขาดความใส่ใจในการรักษาอย่างสม่ำเสมอ (Poor adherence) ทำให้การรักษาใช้เวลานานขึ้น มีปัญหาการดื้อยา ... -
การประเมินเทคโนโลยีการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม : มุมมองด้านเศรษฐศาสตร์และสังคม
(โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพศูนย์ศิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ, 2009-06)Hearing loss leads to a loss of communication though speech with most people and an inability to develop social relationships with other people. This leads to an acceptance of a lower standard of quality of life. Parents ... -
การปรับปรุงประสิทธิภาพและขยายผลเทคโนโลยี TaWai for Health เพื่อการรายงานและแจ้งเตือนข้อมูลคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-10)โครงการวิจัยการปรับปรุงประสิทธิภาพและขยายผลเทคโนโลยี TaWai for Health เพื่อการรายงานและแจ้งเตือนข้อมูลคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็นการวิจัยเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและขยายผลระบบ web application TaWai for Health ... -
การพัฒนาขบวนการวิเคราะห์ข้อมูลจีโนมและการค้นหาเครื่องหมายพันธุกรรมเพื่อศึกษาระบาดวิทยาและทำนายการดื้อยาของเชื้อวัณโรค (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05)วัณโรคยังคงเป็นโรคติดเชื้อที่สร้างปัญหาทางสาธารณสุขและส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างมาก การศึกษาระบาดวิทยาและชีววิทยาของเชื้อวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคดื้อยา รวมถึงการวางแผนการรักษาโรคจึงเป็นสิ่งจำเป็นอ ... -
การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)โรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นโรคในกลุ่มของ age-associated neurodegenerative diseases ชนิดหนึ่งที่มักเกิดขึ้นในผู้สูงวัย โดยมีจำนวนผู้ป่วยทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การตรวจวินิจฉัยโรคสมองเสื่อมอัล ... -
การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01)เนื่องจากประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมรวมถึงโรคอัลไซเมอร์ การตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็วมีความสำคัญในการป้องกันและรักษาสุขภาพของประชาชน ดังนั้นงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒ ... -
การพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยหาแอนติเจนของเลปโตสไปโรซีส และไข้เด็งกี่ แบบอิมมูโครมาโทกราฟีที่ตรวจได้ทั้งสองโรคในชุดตรวจชุดเดียว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-14)จุดประสงค์หลักของการศึกษาโครงการวิจัยนี้คือการพัฒนาชุดตรวจสำเร็จรูปในรูปแบบอิมมิวโนโครมาโทกราฟี (ICT) เพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรคฉี่หนู (leptospirosis) และโรคไข้เลือดออก (Dengue fever) ในลักษณะการตรวจหาแอนติเจนของเชื้อ ... -
การพัฒนาชุดตรวจวิเคราะห์ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเพื่อช่วยในการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยมะเร็งต่อมลูกหมาก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)มะเร็งต่อมลูกหมากเป็นมะเร็งที่พบบ่อยในเพศชาย ปัจจุบันวิธีตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย คือ การตรวจระดับ prostate specific antigen (PSA) ในซีรั่ม แต่การใช้ค่า PSA เพียงอย่างเดียวมีข้อเสีย เนื่องจาก PSA ... -
การพัฒนาชุดตรวจสำเร็จรูป (แบบ ELISA และ แบบรวดเร็ว) เพื่อตรวจหา antifilarial IgG4 ที่จำเพาะต่อพยาธิเท้าช้างโดยใช้ ecombinant antigen
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)โรคเท้าช้างเกิดจากพยาธิฟิลาเรีย ได้แก่ Wuchereria bancroti, Brugia malayi, B. timori โดยมียุงเป็นพาหะนำโรค โรคเท้าช้างเป็นโรคอันดับสองที่ทำให้เกิดความพิการ ซึ่งก่อปัญหาทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจของประเทศในเขตร้อนและชิดเขตร ... -
การพัฒนาชุดวินิจฉัยโรคพิธิโอซีสในคนและในสัตว์ด้วยวิธีอิมมูโนโครมาโตกราฟฟี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-08-30)โรค pythiosis เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากจุลชีพ Pythium insidiosum การเกิดโรคพบในคนและสัตว์มีรายงานการติดเชื้อทั่วโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตสภาพอากาศร้อน กึ่งร้อน และอบอุ่น พบการติดเชื้อกระจายอยู่ทั่วโล ... -
การพัฒนาวิธีการใหม่สำหรับตรวจหาแอคติวิตี้ของเอนไซม์โปรตีเอส และอินทิเกรส ของเอชไอวี-1 เพื่อประยุกต์ใช้ในการควบคุมระดับยา และการค้นหายาใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)โรคเอดส์ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญของประเทศไทย ปัจจุบันการรักษาโรคเอดส์จะใช้สูตรยาต้านไวรัสที่เรียกว่า highly active retroviral therapy หรือ HAART โดยสูตรยาดังกล่าวสามารถยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส และช่วยรักษาระดับของเซลล์ ...