• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 89

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ; Mukdavan Prakobvaitayakit; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; อุษาวดี สุตะภักดิ์; Usawadee Sutapuk; กรรณิการ์ กิจติเวชกุล; Kannikar Kijtiwatchakul; นพวรรณ อังกูรศันสนีย; Noppawan Angkulsansanee; สิริลักษณ์ บัวเจริญ; Siriluk Buacharoen; ลภัสรดา อึ๊งเจริญ; Lapasrada Aungcharoen; พนิตา สุวรรณน้อย; Panita Suwannoi; สุกัณฑา หมวดทอง; Sukunta Muadthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ความเป็นมา: การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคนิค ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์และมีปัจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จ วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปบทเรียนการทำงานขององค์การเภสัชกรรม ...
    • การควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-25)
      โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ วิจัยประเด็นวิชาการ เศรษฐกิจ และสังคม เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ ...
    • การตรวจวัดปริมาตรเลือดออกในสมองและระยะเคลื่อนของร่องกลางสมองโดยอัตโนมัติเพื่อช่วยแพทย์วินิจฉัยก่อนผ่าตัด 

      บุญญฤทธิ์ อุยยานนวาระ; Bunyarit Uyyanonvara; ภคินี เอมมณี; Pakinee Aimmanee; ภัทรวิทย์ รักษ์กุล; Pataravit Rukskul; ภริมา คลังภูเขียว; Bharima Clangphukhieo; กันต์ ดวงประเสริฐ; Gahn Duangprasert; วิช ยินดีเดช; Vich Yindeedej (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      โรคเลือดออกในสมองเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากภาวะที่หลอดเลือดในสมองหรือหลอดเลือดระหว่างกระดูกและสมองแตกออก ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น อุบัติเหตุ โรคความดันโลหิตสูง โรคนี้จำเป็นต้องมีการวินิจฉัยอย่างทันท่วงทีหากมีอาการนำ เช่น ...
    • การตอบสนองและกลไกการดื้อยาต่อกลุ่มอนุพันธ์ artemisinin และยาต้านมาลาเรียที่ใช้ร่วมในเชื้อ Plasmodium falciparum 

      มฑิรุทธ มุ่งถิ่น; Mathirut Mungthin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-11-11)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความไวต่อยาต้านมาลาเรียกลุ่มอนุพันธ์ artemisinin และยาที่ใช้ร่วมใน artemisinin derivative based combination therapy (ACT) และลักษณะทางพันธุกรรมของการดื้อยาในเชื้อ Plasmodium falciparum ...
    • การทำนายการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปี โดยการตรวจดอพเลอร์หลอดเลือดแดงยูเทอรีนร่วมกับ การวัดระดับของ fms-like tyrosine kinase (sflt-1) , placental growth factor ( PlGF) และ pregnancy- associated plasma protein-A (PAPP-A) 

      ชำนาญ แท่นประเสริฐกุล; Chamnan Tanprasertkul; จรินทร์ทิพย์ สมประสิทธิ์; Charintip Somprasit; ต้องตา นันทโกมล; Tongta Nantakokon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้ดอพเลอร์อัลตราซาวน์ ตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงยูเทอรีน ร่วมกับการตรวจวัดระดับของ sflt-1( Soluble fms-like tyrosine kinase-1 ) PlGF (Placenta growth factor) และPAPP-A ...
    • การบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย : ภาพรวมและประสบการณ์การใช้เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค และแบบฉายรังสีโคบอลต์-60 และเครื่องเพทซีที 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; จอมขวัญ โยธาสมุทร; ชนินทร์ สกุลอิสริยาภรณ์; สุวรรณา มูเก็ม; ปิยะอร แดงพยนต์; อรณัชชา เซ็นโส; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2554-12)
      การศึกษานี้มีเป้าหมายคือ เพื่อศึกษาภาพรวมของระบบการควบคุมและบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย และศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับการบริหารจัดการเทคโนโลยี 3 ชนิดที่ราคาแพง ได้แก่ เครื่องแมมโมแกรม เครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค ...
    • การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข 

      รัตพงษ์ สอนสุภาพ; Rattaphong Sonsuphap; สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์; Sitanon Jesdapipat; อิสรีย์ ภักดิ์ศรีแพง; Itsaree Phaksipaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 : ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดหาเวชภัณฑ์เกี่ยวกับโรค COVID-19 ได้แก่ วัคซีน ...
    • การปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทย 

      วินิต อัศวกิจวิรี; Vinit Usavakidviree; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha-oncin Sooksriwong; ฟ้าใส จันท์จารุภรณ์; Farsai Chanjaruporn; วราวุธ เสริมสินสิริ; Varavoot Sermsinsiri; คัคนางค์ โตสงวน; Kakanang Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)
      ประเทศไทยยังขาดระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพและต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศและมีแนวโน้มที่สูงขึ้น พึ่งพาตนเองได้น้อย ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูป ...
    • การประดิษฐ์อุปกรณ์สำหรับประเมินความสามารถในการทรงตัวและให้ข้อมูลป้อนกลับ (ปีที่ 2) 

      กนกวรรณ ศรีสุภรกรกุล; Kanokwan Srisupornkornkool; ปราโมทย์ วาดเขียน; Pramote Wardkein; อรอุมา บุณยารมณ์; Onuma Boonyarom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05)
      การศึกษาวิจัยนี้เป็นการประดิษฐ์อุปกรณ์สำหรับประเมินการทรงตัวและให้ข้อมูลป้อนกลับ ปีที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานของอุปกรณ์ โดยการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ของอุปกรณ์ ในอาสาสมัครที่มีอายุอยู่ในช่วง ...
    • การประยุกต์ใช้สาร (1->3)-เบต้า-ดี-กลูแคน: ตัวชี้วัดทางชีวภาพเพื่อการตรวจติดตามโรคพิทิโอซิสในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแบบ immunotherapy 

      อริยา จินดามพร; อัษฎาศ์ ลีฬหวนิชกุล; รังสิมา เหรียญตระกูล; นวพร วรศิลป์ชัย; Ariya Chindamporn; Asada Leelahavanichkul; Rungsima Reantragoon; Navaporn Worasilchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-10)
      พิเทียม อินซิดิโอซุ่ม เป็นเชื้อก่อโรคพิทิโอซิสซึ่งมีอันตรายถึงแก่ชีวิต พยาธิสภาพในหลอดเลือดแดงและกระจกตาเป็นลักษณะอาการทางคลินิกที่พบได้บ่อย โดยกลุ่มที่ติดเชื้อในหลอดเลือดแดงส่วนใหญ่มีโรคทาลัสซีเมียเป็นโรคประจำตัว ...
    • การประเมินประสิทธิผลการใช้ระบบ CARE-call ในการติดตามการรับประทานยาเพื่อเพิ่มความสม่ำเสมอในการรับประทานยาและลดอัตราการขาดยาวัณโรค 

      ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; ยงยุทธ โล่ศุภกาญจน์; รัชนิตย์ ราชกิจ เนตรสุวรรณ; กัลยาณี อัครกิตติมงคล; วุฒิชัย สวาทนา; บุญชัย ไชยาศิรินทร์โรจน์; วรรัตน อิ่มสงวน; อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค; อารียา ดิษรัฐกิจ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02)
      ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 14 ประเทศที่องค์การอนามัยโลกรายงานว่ามีปัญหาด้านวัณโรค วัณโรค/เอช-ไอวี และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน การขาดความใส่ใจในการรักษาอย่างสม่ำเสมอ (Poor adherence) ทำให้การรักษาใช้เวลานานขึ้น มีปัญหาการดื้อยา ...
    • การประเมินเทคโนโลยีการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม : มุมมองด้านเศรษฐศาสตร์และสังคม 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; วัชรา ริ้วไพบูลย์; มานัส โพธาภรณ์; จำรูญ ตั้งกีรติชัย; ชนิดา กาญจนลาภ; ศิตาพร ยังคง; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพศูนย์ศิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ, 2552-06)
      Hearing loss leads to a loss of communication though speech with most people and an inability to develop social relationships with other people. This leads to an acceptance of a lower standard of quality of life. Parents ...
    • การปรับปรุงประสิทธิภาพและขยายผลเทคโนโลยี TaWai for Health เพื่อการรายงานและแจ้งเตือนข้อมูลคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ 

      ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์; Panupong Puttarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-10)
      โครงการวิจัยการปรับปรุงประสิทธิภาพและขยายผลเทคโนโลยี TaWai for Health เพื่อการรายงานและแจ้งเตือนข้อมูลคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็นการวิจัยเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและขยายผลระบบ web application TaWai for Health ...
    • การพัฒนาการตรวจตามแนววิเคราะห์สารพันธุกรรมตลอดส่วนการแสดงออกทารกชาวไทยที่มีภาวะดีซ่านแบบน้ำดีคัดคั่ง 

      สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา; Surasak Sangkhathat; อมรรัตน์ พงศ์ดารา; Amornrat Phongdara; ปิยวรรณ เชียงไกรเวช; Piyawan Chiengkriwate; ศุภิกา กฤษณีไพบูลย์; Supika Kritsaneepaiboon; คณิตา กายะสุต; Kanita Kayasut; คมวิทย์ สุรชาติ; Komwit Surachat; วิศลย์ เหล่าเจริญสุข; Wison Laochareonsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการนำเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับสารพันธุกรรมใหม่ (Next Generation Sequencing) มาใช้ในกระบวนการวินิจฉัยทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยซึ่งมีภาวะดีซ่านชนิดน้ำดีคัดคั่งในวัยทารก เน้นศึกษากลุ่มผู้ป่ว ...
    • การพัฒนาการตรวจวิเคราะห์ระดับโมเลกุลเพื่อบ่งชี้การตอบสนองต่อการรักษาแบบจำเพาะบุคคลในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชาวไทย (ปีที่ 3) 

      นรวรรธน์ พวงวรินทร์; Naravat Poungvarin; วิเชียร ศรีมุนินทร์นิมิต; Vichien Srimuninnimit; รุจิรา เรืองจิระอุไร; Ruchira Ruangchira-urai; วิโรจน์ ศรีอุฬารพงศ์; Virote Sriuranpong; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา; Thanyanan Reungwetwattana; พิมพิณ อินเจริญ; Pimpin Incharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-07)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญของประชากรไทย การรักษาโรคมะเร็งแบบจำเพาะต่อบุคคล (personalized cancer medicine) ด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้า (targeted therapy) เป็นแนวทางการรักษาแนวใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงในการทำลายเซลล์มะเร็ง ...
    • การพัฒนาการผลิตชีวภัณฑ์ซุปเปอร์มอสTM ในเชิงอุตสาหกรรม 

      ปัทมาภรณ์ กฤตยพงษ์; Pattamaporn Kittayapong; ปรียาพร เกิดฤทธิ์; Preeyaporn Koedrith; อุรุญากร จันทร์แสง; Uruyakorn Chansang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04)
      การศึกษาวิจัยในโครงการนี้มีวัตถุประสงค์โดยรวมเพื่อพัฒนาการผลิตชีวภัณฑ์ซุปเปอร์มอสTM หรือยุงลายเพศผู้ที่ผ่านการทำหมันด้วยการฉายรังสีและ/หรือการถ่ายโอนแบคทีเรีย Wolbachia ในระดับอุตสาหกรรม เพื่อให้ได้ชีวภัณฑ์ฯ ปริมาณมาก ...
    • การพัฒนาขบวนการวิเคราะห์ข้อมูลจีโนมและการค้นหาเครื่องหมายพันธุกรรมเพื่อศึกษาระบาดวิทยาและทำนายการดื้อยาของเชื้อวัณโรค (ปีที่ 2) 

      เทอดศักดิ์ พราหมณะนันทน์; Therdsak Prammananan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05)
      วัณโรคยังคงเป็นโรคติดเชื้อที่สร้างปัญหาทางสาธารณสุขและส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างมาก การศึกษาระบาดวิทยาและชีววิทยาของเชื้อวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคดื้อยา รวมถึงการวางแผนการรักษาโรคจึงเป็นสิ่งจำเป็นอ ...
    • การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 1 

      ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      โรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นโรคในกลุ่มของ age-associated neurodegenerative diseases ชนิดหนึ่งที่มักเกิดขึ้นในผู้สูงวัย โดยมีจำนวนผู้ป่วยทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การตรวจวินิจฉัยโรคสมองเสื่อมอัล ...
    • การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 2 

      ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์; Prapimpun Wongchitrat; อมรา อภิลักษณ์; Amara Apilux; ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์; Tanawut Tantimongcolwat; กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น; Kamonrat Phopin; วิลาสินี สุวรรณจ่าง; Wilasinee Suwanjang; สุมนา กลัดสมบูรณ์; Sumana Kladsomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01)
      เนื่องจากประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมรวมถึงโรคอัลไซเมอร์ การตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็วมีความสำคัญในการป้องกันและรักษาสุขภาพของประชาชน ดังนั้นงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒ ...
    • การพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยหาแอนติเจนของเลปโตสไปโรซีส และไข้เด็งกี่ แบบอิมมูโครมาโทกราฟีที่ตรวจได้ทั้งสองโรคในชุดตรวจชุดเดียว 

      วันเพ็ญ ชัยคำภา; กนิษฐา ภัทรกุล; นิทัศน์ สุขรุ่ง; พิสินี เอี่ยมอุไร; สันติ มณีวัชระรังษี; นิตยา อินทราวัฒนา; อรภัค เรี่ยมทอง; ชรินทร์ ถาวรคุโณ; อมรพันธุ์ เสรีมาศพันธุ์; ธนาภัทร ปาลกะ; Alain Jacquet; สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-14)
      จุดประสงค์หลักของการศึกษาโครงการวิจัยนี้คือการพัฒนาชุดตรวจสำเร็จรูปในรูปแบบอิมมิวโนโครมาโทกราฟี (ICT) เพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรคฉี่หนู (leptospirosis) และโรคไข้เลือดออก (Dengue fever) ในลักษณะการตรวจหาแอนติเจนของเชื้อ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น | แจ้งปัญหาการใช้งาน
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [528]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [86]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [272]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [89]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [129]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1095]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [207]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [19]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น | แจ้งปัญหาการใช้งาน
      Theme by 
      Atmire NV