Browsing by Subject "มะเร็งลำไส้ใหญ่"
Now showing items 1-6 of 6
-
การพัฒนาชุดตรวจสอบการผ่าเหล่าของยีนบีอาร์ซีเอวันสำหรับตรวจหาการผ่าเหล่าของยีนบีอาร์ซีเอวันในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และมะเร็งต่อมลูกหมากในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทยโดยอาศัยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์แบบใหม่และการแสดงออกของยีนบีอาร์ซีเอวันที่ผ่าเหล่า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)มะเร็งต่อมลูกหมากเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยเป็นอันดับสองของโลก อุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตทั่วโลกของมะเร็งต่อมลูกหมากคือ 30.7 และ 7.7 ต่อจำนวนประชากร 100,000 คน ตามลำดับ โดยมีระยะรอดชีพ 5 ปี ของระยะต้นอยู่ที่ร้อยละ 96.8 ... -
การศึกษาการใช้ Asia-Pacific Colorectal Cancer Risk Score และการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal Immunochemical Test) ในการช่วยตรวจคัดกรองเนื้องอก ลำไส้ใหญ่ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)มะเร็งลำไส้ใหญ่จัดเป็นมะเร็งที่พบบ่อยและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตติดอันดับต้นๆ ของทั่วโลกและประเทศไทย การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้จะช่วยลดอุบัติการณ์และลดอัตราการเสียชีวิตมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ อย่างไรก็ตาม การตรวจคัดกรองคำนึงถึง ... -
การศึกษานำร่องข้อมูล Exome และ Transcriptome ในมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักในผู้ป่วยคนไทยด้วยวิธี Next-Generation Sequencing (NGS)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)ปัจจุบันความรู้ด้านจีโนมิกส์และเทคโนโลยีในการวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมมนุษย์มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก และถูกนำไปประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ในหลายประเทศ โครงการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย คือ นำความรู้ด้านจีโนมิกส์มาพัฒนาการแพทย์สมัยใ ... -
ฐานข้อมูลภูมิทัศน์จีโนมของมะเร็งลำไส้ใหญ่ชาวไทยเพื่อการแพทย์แม่นยำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)ปัจจุบันเทคโนโลยีการศึกษาการแสดงออกของยีนสามารถแบ่งมะเร็งลำไส้ออกเป็นรูปแบบต่าง ๆ (consensus molecular subtypes, CMS) ซึ่งเป็นแนวทางในการศึกษากลไกการเปลี่ยนแปลงมะเร็งลำไส้ รวมถึงการมุ่งเน้นเพื่อการรักษาโดยเฉพาะ ... -
วิเคราะห์คุณภาพข้อมูลมะเร็งและศึกษาสถานการณ์โรคมะเร็งและความสัมพันธ์กับแนวโน้มและการกระจายของปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
(แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพแห่งชาติ, 2553-07)วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์ความสมบูรณ์ คุณภาพของการจดทะเบียนและแหล่งข้อมูลอื่นๆ 2. เพื่อรวบรวม วิเคราะห์สถานการณ์โรคมะเร็งและความสัมพันธ์กับแนวโน้มและการกระจายของปัจจัยเสี่ยง จากแหล่งข้อมูลที่มีเพื่อการวางยุทธศาสตร์การแก้ปัญหา ... -
เภสัชพันธุศาสตร์ของยา 5-ฟลูออโรยูราซิลกับผลกระทบทางคลินิกในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)ความสำคัญงานวิจัยชิ้นนี้คือ การเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน Dihydropyrimidine Dehydrogenase (DPYD) มีความสัมพันธ์กับการเกิดพิษจากการใช้ยา 5-ฟลูออโรยูราซิล ร่วมกับการแสดงออกของ miRNA ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเอนไซม์ ...