• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing)"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 129

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม : การพัฒนาและประโยชน์ในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การพัฒนากลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมในประเทศไทย เริ่มอย่างเป็นระบบในปี 2536 เมื่อประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถปี 2535 โดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข เพื่อเป็นทางเลือกของวิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล ...
    • การกำหนดต้นทุนและการจัดสรรในบริบทของวิธีการเหมาจ่ายบริการสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล; Somchai Suksiriserekul (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุและประเมินวิธีการกำหนดต้นทุนบริการสุขภาพแบบเหมาจ่าย วิธีการจัดสรรงบประมาณ และการกำหนดตัวแปรที่มีผลต่อต้นทุนและการจัดสรรงบประมาณของต่างประเทศและของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ...
    • การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Viroj Tangcharoensathien; Cichon, Michael; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ...
    • การคลังสุขภาพสำหรับระบบบริการสุขภาพพึงประสงค์ 

      ถาวร สกุลพาณิชย์; สมชัย จิตสุชน; อรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2556-01)
      การมีหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในปี 2545 ทำให้ประชาชนไทยเข้าถึงบริการสุขภาพเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะบริการบางประเภทที่มีราคาแพง รวมทั้งมีแนวโน้มผลลัพธ์ด้านสุขภาพดีขึ้น ในขณะที่การขยายตัวของอุปทาน ได้แก่ จำนวนสถานพยาบาลและบุคลากรผ ...
    • การคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลอุดรธานี : รายงานการวิจัย 

      จันทนา พัฒนเภสัช; อาทร ริ้วไพบูลย์; วัชรา ริ้วไพบูลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยทำการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง อิงสถิติความชุกของโรค คำนวณต้นทุนบริการทางการแพทย์โดยใช้วิธีมาตรฐาน ...
    • การจัดทําฐานข้อมูลไซนัสอักเสบในประเทศไทย 

      Pharaya Asanasen; ปารยะ อาศนะเสน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      ปัญหาโรคไซนัสอักเสบเป็นโรคที่พบบ่อยในประเทศไทย และยังมีปัญหาในการวินิจฉัยและรักษาอยู่มากโรคไซนัสอักเสบมีผลต่อเศรษฐกิจสังคม เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการตรวจและรักษาอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูง นอกจากโรคนี้จะทําให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ ...
    • การจัดบริการและต้นทุนบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ผู้ป่วยระยะกลาง (Intermediate Care) ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพ 

      จเร วิชาไทย; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วัชรา ริ้วไพบูลย์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; นธีรัตน์ ธรรม์โรจน์; แพรว เอี่ยมน้อย; พัฒนาวิไล อินใหม (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดในสมองภายหลังถูกจำหน่ายจากโรงพยาบาลในจังหวัดตัวอย่างที่มีการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูฯ ค่อนข้างก้าวหน้า (กาฬสินธุ์ เลย ...
    • การจัดสรรเงินและสถานการณ์การเงินสถานบริการระดับปฐมภูมิ (สถานีอนามัย) ภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-08)
      การบริการระดับปฐมภูมิ เป็นระบบบริการที่มีความสำคัญต่อระบบบริการสุขภาพ เนื่องจากเป็นบริการด่านแรก มุ่งเน้นการบริการที่ต่อเนื่องและผสมผสาน จึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการสนับสนุนอย่างเพียงพอเพื่อการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ ...
    • การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Walaiporn Patcharanarumol; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย ...
    • การถ่ายทอดประสบการณ์ในงานวิเคราะห์ยาเพื่อการจัดหาเวชภัณฑ์ที่มีคุณภาพและรู้เท่าทันบริษัทยา และกรณีศึกษาประสบการณ์จากการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยา 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; สายศิริ ด่านวัฒนะ; อภิญญา อิสระชาญพานิช; ภาสกร สวนเรือง; ณัฐธิดา สุขเรืองรอง (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย(สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.)., 2555)
      สถานการณ์ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้โรงพยาบาลซึ่งเป็นแหล่งกระจายยาที่ใหญ่ที่สุด จำเป็นต้องควบคุมค่าใช้จ่ายในส่วนนี้อย่างจริงจัง ซึ่งมาตรการหนึ่งที่พบว่าได้ผลดี ได้แก่ การลดปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้นแบบ ...
    • การทบทวนวรรณกรรมค่าอรรถประโยชน์ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทย 

      กฤตภาส กังวานรัตนกุล; Krittaphas Kangwanrattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ค่าอรรถประโยชน์ (Utility value) เป็นผลลัพธ์ที่สำคัญในการวิเคราะห์ต้นทุน-อรรถประโยชน์ (Cost utility analysis: CUA) จากแนวทางการวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยได้มีการแนะนำให้ใช้แบบสอบถาม EQ-5D-5L ในการหาค่าอ ...
    • การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรณู ศรีสมิต; สุภัค ปิติภากร; กมล วีระประดิษฐ์; บุญรัตน์ วราชิต (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การวิจัยและพัฒนา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ตั้งบนสมมติฐานว่า การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณทางคลินิก ...
    • การบริหารจัดการกองทุนสุขภาพโดยชุมชน 

      วิชิต นันทสุวรรณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540-09)
      การจัดการกองทุนเพื่อสุขภาพของชุมชน คือ การจัดการเงินทุน ที่ดิน แรงงาน ผลผลิตและทรัพยากรธรรมชาติในระดับชุมชน เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพของตนเอง และการรักษาพยาบาล และการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย หรือมีปัญหาสุขภาพ ...
    • การประมาณสถานการณ์ด้านการเงินของสถานพยาบาล ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในปี 2545 

      ศรชัย เตรียมวรกุล; Sornchai Thiemworakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ในการดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายด้านต่อสถานพยาบาล ส่วนหนึ่งคือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดสรรงบประมาณจากระบบเดิมไปสู่ระบบการเหมาจ่ายตามประชากรที่ขึ้นทะเบียนกับสถานพยาบาล ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของการนำวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีPrime-Boost (ALVAC-HIV ® และ AIDSVAX B/E®) มาใช้ในประชากรไทย 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; นคร เปรมศรี; เฉวตสรร นามวาท; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-02)
      วัตถุประสงค์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาต้นทุนสูงสุดของวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีที่ทำให้วัคซีนฯ ยังมีความคุ้มค่าในบริบทของระบบสุขภาพประเทศไทย และประเมินคุณลักษณะของวัคซีน ฯ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสี่ยง ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อ 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      บริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อ (Pre-Exposure Prophylaxis ; PrEP) เป็นหนึ่งในมาตรการป้องกันการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มประชากรหลักที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงของการติดเชื้อ เช่น กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและหญิงข้ามเพศ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าด้านเศรษฐศาสตร์ของยากลุ่ม SGLT2 inhibitors ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศไทย 

      วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; ศตนันทน์ มณีอ่อน; Satanun Maneeon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ที่มา: โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่พบได้บ่อยและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ปัจจุบันคาดการณ์ว่าประเทศไทยมีคนเป็นเบาหวานประมาณ 4.6 ล้านคน ค่าใช้จ่ายในการดูแลคนไข้เบาหวานประมาณ 3.5 – ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางสาธารณสุขและการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกผ่านทางสายสวน ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง 

      อัญชลี เพิ่มสุวรรณ; Unchalee Permsuwan; วรธิมา อยู่ดี; Voratima Yoodee; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      วัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และภาระด้านงบประมาณของการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติก ผ่านทางสายสวนเปรียบเทียบกับการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบระยะรุนแรง วิธีการศึกษา ใช้แบบจำลองแ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น | แจ้งปัญหาการใช้งาน
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [529]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [87]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [274]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [91]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [129]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1101]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [207]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [19]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น | แจ้งปัญหาการใช้งาน
      Theme by 
      Atmire NV