Now showing items 1-20 of 156

    • กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม : การพัฒนาและประโยชน์ในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การพัฒนากลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมในประเทศไทย เริ่มอย่างเป็นระบบในปี 2536 เมื่อประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถปี 2535 โดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข เพื่อเป็นทางเลือกของวิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล ...
    • การกำหนดต้นทุนและการจัดสรรในบริบทของวิธีการเหมาจ่ายบริการสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล; Somchai Suksiriserekul (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุและประเมินวิธีการกำหนดต้นทุนบริการสุขภาพแบบเหมาจ่าย วิธีการจัดสรรงบประมาณ และการกำหนดตัวแปรที่มีผลต่อต้นทุนและการจัดสรรงบประมาณของต่างประเทศและของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ...
    • การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Viroj Tangcharoensathien; Cichon, Michael; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ...
    • การคลังสุขภาพสำหรับระบบบริการสุขภาพพึงประสงค์ 

      ถาวร สกุลพาณิชย์; สมชัย จิตสุชน; อรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2556-01)
      การมีหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในปี 2545 ทำให้ประชาชนไทยเข้าถึงบริการสุขภาพเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะบริการบางประเภทที่มีราคาแพง รวมทั้งมีแนวโน้มผลลัพธ์ด้านสุขภาพดีขึ้น ในขณะที่การขยายตัวของอุปทาน ได้แก่ จำนวนสถานพยาบาลและบุคลากรผ ...
    • การคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลอุดรธานี : รายงานการวิจัย 

      จันทนา พัฒนเภสัช; อาทร ริ้วไพบูลย์; วัชรา ริ้วไพบูลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยทำการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง อิงสถิติความชุกของโรค คำนวณต้นทุนบริการทางการแพทย์โดยใช้วิธีมาตรฐาน ...
    • การจัดทำระบบฐานข้อมูลและทดลองใช้เครื่องมือมาตรฐาน รายงานต้นทุน (Standard Cost Report) ของสถานพยาบาลในพื้นที่นำร่อง 

      ไอลดา สุขนาค; I-lada Sooknark; ครรชิต สุขนาค; Kanchit Sooknark (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      โครงการนี้ดำเนินการตามข้อเสนอคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณ เป็นการปรับปรุงการจัดทำบัญชีต้นทุนสถานพยาบาล เป็นมาตรการ Prerequisite ระยะสั้นของคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณภ ...
    • การจัดทําฐานข้อมูลไซนัสอักเสบในประเทศไทย 

      Pharaya Asanasen; ปารยะ อาศนะเสน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      ปัญหาโรคไซนัสอักเสบเป็นโรคที่พบบ่อยในประเทศไทย และยังมีปัญหาในการวินิจฉัยและรักษาอยู่มากโรคไซนัสอักเสบมีผลต่อเศรษฐกิจสังคม เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการตรวจและรักษาอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูง นอกจากโรคนี้จะทําให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ ...
    • การจัดบริการและต้นทุนบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ผู้ป่วยระยะกลาง (Intermediate Care) ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพ 

      จเร วิชาไทย; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วัชรา ริ้วไพบูลย์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; นธีรัตน์ ธรรม์โรจน์; แพรว เอี่ยมน้อย; พัฒนาวิไล อินใหม (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดในสมองภายหลังถูกจำหน่ายจากโรงพยาบาลในจังหวัดตัวอย่างที่มีการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูฯ ค่อนข้างก้าวหน้า (กาฬสินธุ์ เลย ...
    • การจัดสรรเงินและสถานการณ์การเงินสถานบริการระดับปฐมภูมิ (สถานีอนามัย) ภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-08)
      การบริการระดับปฐมภูมิ เป็นระบบบริการที่มีความสำคัญต่อระบบบริการสุขภาพ เนื่องจากเป็นบริการด่านแรก มุ่งเน้นการบริการที่ต่อเนื่องและผสมผสาน จึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการสนับสนุนอย่างเพียงพอเพื่อการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ ...
    • การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Walaiporn Patcharanarumol; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย ...
    • การถ่ายทอดประสบการณ์ในงานวิเคราะห์ยาเพื่อการจัดหาเวชภัณฑ์ที่มีคุณภาพและรู้เท่าทันบริษัทยา และกรณีศึกษาประสบการณ์จากการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยา 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; สายศิริ ด่านวัฒนะ; อภิญญา อิสระชาญพานิช; ภาสกร สวนเรือง; ณัฐธิดา สุขเรืองรอง (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย(สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.)., 2555)
      สถานการณ์ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้โรงพยาบาลซึ่งเป็นแหล่งกระจายยาที่ใหญ่ที่สุด จำเป็นต้องควบคุมค่าใช้จ่ายในส่วนนี้อย่างจริงจัง ซึ่งมาตรการหนึ่งที่พบว่าได้ผลดี ได้แก่ การลดปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้นแบบ ...
    • การทบทวนวรรณกรรมค่าอรรถประโยชน์ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทย 

      กฤตภาส กังวานรัตนกุล; Krittaphas Kangwanrattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ค่าอรรถประโยชน์ (Utility value) เป็นผลลัพธ์ที่สำคัญในการวิเคราะห์ต้นทุน-อรรถประโยชน์ (Cost utility analysis: CUA) จากแนวทางการวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยได้มีการแนะนำให้ใช้แบบสอบถาม EQ-5D-5L ในการหาค่าอ ...
    • การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรณู ศรีสมิต; สุภัค ปิติภากร; กมล วีระประดิษฐ์; บุญรัตน์ วราชิต (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การวิจัยและพัฒนา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ตั้งบนสมมติฐานว่า การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณทางคลินิก ...
    • การบริหารจัดการกองทุนสุขภาพโดยชุมชน 

      วิชิต นันทสุวรรณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540-09)
      การจัดการกองทุนเพื่อสุขภาพของชุมชน คือ การจัดการเงินทุน ที่ดิน แรงงาน ผลผลิตและทรัพยากรธรรมชาติในระดับชุมชน เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพของตนเอง และการรักษาพยาบาล และการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย หรือมีปัญหาสุขภาพ ...
    • การประมาณสถานการณ์ด้านการเงินของสถานพยาบาล ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในปี 2545 

      ศรชัย เตรียมวรกุล; Sornchai Thiemworakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ในการดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายด้านต่อสถานพยาบาล ส่วนหนึ่งคือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดสรรงบประมาณจากระบบเดิมไปสู่ระบบการเหมาจ่ายตามประชากรที่ขึ้นทะเบียนกับสถานพยาบาล ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของ Medial Branch Radiofrequency Ablation สำหรับโรคปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังจาก Facet Joints 

      มานิต สิทธิมาตร; Manit Sittimart; Butani, Dimple; ชิตวรรณ พูนศิริ; Chittawan Poonsiri; มันตา กรกฎ; Manta Korakot; ปราโมทย์ เอื้อโสภณ; Pramote Euasobhon; กรวีร์ พสุธารชาติ; Koravee Pasutharnchat; พรพรรณ เฉลิมกิจพานิชย์; Pornpan Chalermkitpanit; ศศิกานต์ นิมมานรัชต์; Sasikaan Nimmaanrat; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย ซึ่งการจี้เส้นประสาทด้วยคลื่นวิทยุความถี่สูง (radiofrequency ablation, RFA) สำหรับผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของการตรวจวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา 

      ปองหทัย บุญสิมมา; Ponghatai Boonsimma; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan; ปานทิพย์ จันทมา; Parntip Juntama; โชติกา สุวรรณพานิช; Chotika Suwanpanich; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochid-amnuay; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Namfon Sribundit; ณัฏฐพล สัมประสิทธิ์; Nathapol Samprasit; วุทธิชาติ กมลวิศิษฎ์; Wuttichart Kamolvisit; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      บทนำ : โรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาในเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทย โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการผิดปกติทางพันธุกรรม ปัจจุบันมีการนำการตรวจรหัสพันธุกรรม Exome Sequencing (ES) มาช่วยในการวินิจฉัยผู้ป่วยเด็กโร ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของการนำวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีPrime-Boost (ALVAC-HIV ® และ AIDSVAX B/E®) มาใช้ในประชากรไทย 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; นคร เปรมศรี; เฉวตสรร นามวาท; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-02)
      วัตถุประสงค์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาต้นทุนสูงสุดของวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีที่ทำให้วัคซีนฯ ยังมีความคุ้มค่าในบริบทของระบบสุขภาพประเทศไทย และประเมินคุณลักษณะของวัคซีน ฯ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสี่ยง ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อ 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      บริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อ (Pre-Exposure Prophylaxis ; PrEP) เป็นหนึ่งในมาตรการป้องกันการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มประชากรหลักที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงของการติดเชื้อ เช่น กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและหญิงข้ามเพศ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าด้านเศรษฐศาสตร์ของยากลุ่ม SGLT2 inhibitors ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศไทย 

      วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; ศตนันทน์ มณีอ่อน; Satanun Maneeon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ที่มา: โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่พบได้บ่อยและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ปัจจุบันคาดการณ์ว่าประเทศไทยมีคนเป็นเบาหวานประมาณ 4.6 ล้านคน ค่าใช้จ่ายในการดูแลคนไข้เบาหวานประมาณ 3.5 – ...