Browsing by Subject "สิทธิประโยชน์--การคุ้มครอง"
Now showing items 1-14 of 14
-
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ... -
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ของการตรวจวินิจฉัยโรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นด้วยการทดสอบการนอนหลับแบบละเอียด Polysomnography (PSG) ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)โรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น (obstructive sleep apnea : OSA) เป็นโรคที่พบได้บ่อย สำหรับประเทศไทยมีผลการศึกษา พบว่า มีความชุกของ OSA ร้อยละ 15.4 ในผู้ชาย และร้อยละ 6.3 ในผู้หญิง โรค OSA เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเ ... -
การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ของการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกชนิด Sutureless ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)วัตถุประสงค์ : เพื่อประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ ผลกระทบด้าน งบประมาณ และความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติของการผ่าตัด เปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกชนิด Sutureless (Sutureless/Rapid-Deployment Aortic Valve Replacement, SUAVR) ... -
การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ... -
การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคเอ็มพีเอสสำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคเอ็มพีเอส สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จากการทบทว ... -
การศึกษาการเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพ ผ่าน Telehealth
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นโครงการที่ทำให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการให้ความสำคัญของบริการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค (Promotion and Prevention, P&P) ซึ่งเป็นสิทธิประโยช ... -
การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพ สำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการนำบริการจิตเวชสู่ ... -
การสร้างและจัดการองค์ความรู้สำหรับการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2566 : สถานการณ์ ความก้าวหน้า ความท้าทายและก้าวต่อไปในอนาคตของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)การประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2566 ทบทวนอดีต และแถลงการณ์สู่อนาคต ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 12-13 ธันวาคม พ.ศ. 2566 เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบาย การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกชนิด Sutureless ในผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)ภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบ (Aortic Stenosis) เป็นภาวะที่มีการปิดกั้นการไหลเวียนของเลือดจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปสู่หลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตาในช่วงที่หัวใจห้องล่างบีบตัว ซึ่งเป็นโรคลิ้นหัวใจที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ สาเหตุเกิดจากก ... -
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิของผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมตามมาตรา 40: กรณีการเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้เมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)การศึกษาโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม ... -
พฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่ง: การวิเคราะห์จากฐานข้อมูลผู้ประกันตน ของสำนักงานประกันสังคม ระหว่างปี 2561–2563
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่งที่อาจเป็นภาพสะท้อนแนวโน้มการใช้บริการประกันสังคมของแรงงานแพลตฟอร์มที่มีแนวโน้มเป็นที่นิยมข ... -
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง วาระผู้สูงอายุ กับ วาระวิจัยระบบสุขภาพ โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 6 บทความ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลงคุณภาพ ... -
สาเหตุของการส่งเงินสมทบไม่ต่อเนื่องของผู้ประกันตนตามมาตรา 40: การศึกษาเชิงคุณภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษาเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุที่ทำให้ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ขาดส่งเงินสมทบหรือส่งเงินสมทบไม่ต่อเนื่อง โดยเก็บข้อมูล 2 วิธี คือ 1) การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์กับอาสาสมัครแรงงานและเครือข่ายประกันสังคมตามมาตรา ...