• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Primary Care"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 22

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคตะวันออก 

      รวีวรรณ เผ่ากัณหา; สุนทราวดี เธียรพิเชฐ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคตะวันออก มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับบริการปฐมภูมิในเขตภาคตะวันออกเพื่อให้เห็นภาพรวมของการจัดบริการที่ผ่านมา สถานการณ์กําลังคน ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคเหนือ 

      รัตนาภรณ์ อาวิพันธ์; พูนทรัพย์ โสภารัตน์; รื่นรมย์ โกช่าง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนงานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิเขตภาคเหนือ เป็นการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน โดยสืบค้นจากฐานข้อมูลทรัพยากรสารนิเทศห้องสมุด ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทย ...
    • การประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศไทยจากมุมมองของผู้ให้บริการ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; Barbara Starfield (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      บริการปฐมภูมิเป็นกิจกรรมสำคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศ แต่จนถึงปัจจุบันยังไม่มีการประเมินอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย การศึกษานี้จึงดำเนินขึ้นเพื่อประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศไทย จากมุมมองของผู้ให้บริการในพื้นที่ ...
    • การประเมินผลเบื้องต้น: ประสบการณ์การได้รับการดูแลแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Srisornvichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      โครงการวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ได้นำร่องการปรับรูปแบบและกระบวนการจัดบริการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิหรือคลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster: PCC) จำนวน 20 แห่งในการดูแ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อพัฒนารูปแบบการบริการปฐมภูมิในกรุงเทพมหานคร 

      ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์; Chanuantong Tanasugarn; พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล; Pipat Luksamijarulkul; ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ; Chardsumon Prutipinyo; จีรนันท์ แกล้วกล้า; Jeeranun Klaewkla; ทัศนีย์ รวิวรกุล; Tassanee Rawiworrakul; จงกล โพธิ์แดง; Jongkol Podang; วันวิสาข์ ศรีสุเมธชัย; Vanvisa Sresumatchai; มลินี สมภพเจริญ; Malinee Sombhopcharoen; มงคล อักโข; Mongkol Akko (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อพัฒนารูปแบบการบริการปฐมภูมิในกรุงเทพมหานคร ใน 4 ศูนย์บริการสุขภาพนำร่อง คือ ศูนย์บริการสาธารณสุข 29 ศูนย์บริการสาธารณสุข 30 ศูนย์บริการสาธารณสุข 60 และศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ...
    • การสังเคราะห์บทบาท และโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับปฐมภูมิในบริบทของ วิชาชีพทันตกรรม : กรณีศึกษา 5 แห่ง 

      สุณี ผลดีเยี่ยม; Sunee Poldeeyiam; วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อสังเคราะห์บทบาทและโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับปฐมภูมิในบริบทของวิชาชีพทันตกรรม โดยใช้พื้นที่ 5 แห่ง ประกอบด้วย อำเภอเมืองและอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ...
    • การสังเคราะห์บทบาท และโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของ วิชาชีพ และลักษณะของสถานบริการสุขภาพ : กรณีศึกษา ร้านส่งเสริมเภสัช 

      วราวุธ เสริมสินสิริ; Warawut Sermsinsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ร้านส่งเสริมเภสัช ตั้งอยู่เลขที่ 255/47 ถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี ตั้งอยู่บริเวณตลาดสดสี่มุมเมือง มีผู้คนสัญจรไปมาคับคั่ง ร้านส่งเสริมเภสัชเป็นร้านขายยาเอกชน เจ้าของรายเดียว เวลาทำการ 7.30 - 20.00 ...
    • การสังเคราะห์บทบาท และโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของวิชาชีพ และลักษณะของสถานบริการสุขภาพ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 

      หทัยชนก บัวเจริญ; Hathaichanok Buacharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่นมีพัฒนาแนวคิดจะเริ่มต้นตั้งแต่แนวคิดเวชปฏิบัติภายใต้การขยายห้องตรวจ ปรับมาเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิตามนโยบาย 30 บาท จนนำแนวคิดการรับรองคุณภาพมาตรฐานหน่วยบริการ (HA) ทำให้การออกแบบโครงสร้างหน่วย PCU ...
    • การสังเคราะห์บทบาท และโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของโรงพยาบาลชุมชน วิชาชีพพยาบาลชุมชน และทันตแพทย์ : กรณีศึกษาอำเภอแห่งหนึ่ง 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; วันทนีย์ อุ่นจันทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษาวิจัยเรื่อง การสังเคราะห์บทบาทและโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของโรงพยาบาลชุมชน วิชาชีพพยาบาลชุมชน ทันตแพทย์:กรณีศึกษาอำเภอแห่งหนึ่ง เป็นการนำเสนอการจัดรูปแบบบริการปฐมภูมิและบทบาทของวิชาชีพ ...
    • การสังเคราะห์บทบาท และโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทวิชาชีพ และลักษณะของสถานบริการสุขภาพ : กรณีโรงพยาบาลน้ำพอง 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; วันทนีย์ อุ่นจันทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การสังเคราะห์บทบาทและโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของวิชาชีพ และลักษณะของสถานบริการสุขภาพ: กรณีศึกษาโรงพยาบาลน้ำพองจังหวัดขอนแก่น สรุปได้ดังนี้ 1. โรงพยาบาลน้ำพองได้ยึดแนวคิดการดำเนินงานระดับปฐมภูมิ ...
    • การสังเคราะห์บทบาทและโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของวิชาชีพ และลักษณะของสถานบริการสุขภาพ : กรณีศึกษาร้านเรือนยา กรุงเทพมหานคร 

      วันทนา มณีศรีวงศ์กูล; Wanthana Maneesriwongkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การสังเคราะห์บทบาทและโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทของวิชาชีพเภสัชกร และลักษณะของสถานบริการสุขภาพร้านยาชุมชน การศึกษานี้จะนำเสนอกรณีศึกษาเกี่ยวกับการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิของเภสัชกรร้านยาชุมชนในเขตที่ม ...
    • การสังเคราะห์บทเรียน Theme based research: การพัฒนาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลจาก Hospital Care สู่ Primary Care 

      ทัศนีย์ ญาณะ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
    • คลื่นลูกที่ 3 ของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การปฏิรูประบบบริการสุขภาพของประเทศไทยได้ก้าวสู่ระยะที่สาม หลังจากประสบความสำเร็จในการขยายความครอบคลุมสถานพยาบาลไปทั่วประเทศในระยะที่หนึ่ง และการปฏิรูประบบการเงินการคลังจนมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระยะที่สอง ...
    • ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาล 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; หนึ่งฤทัย สุกใส; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; On-anong Waleekhachonloet; Nungruthai Suksai; Thananan Rattanachotphanit; Chulaporn Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ในปัจจุบัน ระบบบริการปฐมภูมิมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมอาการได้ การรักษาโรคเรื้อรังเกือบทั้งหมดเป็นการรักษาด้วยยา ดังนั้นเภสัชกรควรมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิ ...
    • ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย 

      เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; ทิพาพร กาญจนราช; Tipaporn Kanjanarach; ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์; Atcharawadee Sriyasak; วุฒิกุล ธนากาญจนภักดี; Wuttikul Thanakanjanaphakdee; บัณฑิต นิตย์คำหาญ; Bandit Nitkhamhan; วีรพงษ์ ธัมโชตัง; Weerapong Thumchotang; ศุภวิชญ์ ภูวฤทธิ์; Supavit Phuvarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)
      การถ่ายโอนภารกิจด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ได้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องตามแผนกระจายอำนาจ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในประเด็นเครือข ...
    • ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง 14 ประเทศ 

      สุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์; วิวัฒน์ พุทธวรรณไชย; วิศรี วายุรกุล; จรรยา ภัทรอาชาชัย; Surasak Buranatrevedh; Viwat Puttawanchai; Wisree Wayurakul; Junya Pattaraarchachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      จากการที่มีการขยายตัวของชุมชนเขตเมืองเพิ่มขึ้น ทำให้ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองมีความสำคัญมากขึ้น การศึกษารูปแบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองในประเทศต่างๆจะช่วยให้ได้เรียนรู้รูปแบบที่ดีและนำมาปรับใช้กับระบบบริการของประเทศต่อไปได้ ...
    • ระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในบริบทพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษาศูนย์สุขภาพชุมชน [PCU] โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งใน ภาคใต้ 

      รวมพร คงกำเนิด; Ruamporn Kongkamned (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทและโครงสร้างของระบบบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ ในบริบทวิชาชีพพยาบาลในสถานบริการลักษณะศูนย์สุขภาพชุมชน หรือ PCU ของโรงพยาบาลท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ซึ่งได้รับบทเรียนจากการศึกษา ...
    • รายงานผลการดำเนินการโครงการประเมินผลลัพธ์การพัฒนาบริการปฐมภูมิในโครงการส่งเสริมคุณภาพสถานบริการปฐมภูมิสู่ความเป็นเลิศ (PCUในฝัน) 

      สำนักงานโครงการปฎิรูประบบบริการสาธารณสุข; Health Care Reform Office (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการส่งเสริมคุณภาพสถานบริการปฐมภูมิหรือ “โครงการ PCU ในฝัน” พัฒนาขึ้นเพื่อกระตุ้น สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของหน่วยบริการปฐมภูมิให้สามารถจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพในทิศทางพึงประสงค์ และสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชน ...
    • สถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ ศูนย์สุขภาพชุมชน : กรณีศึกษา โรงพยาบาลบางกรวย 

      พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร; Patcharaporn Panyawuthikrai; คทา บัณฑิตานุกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      สถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ/ศูนย์สุขภาพชุมชน: กรณีศึกษาโรงพยาบาลกรวย โรงพยาบาลบางกรวยเป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง ในเขตจังหวัดนนทบุรี ซึ่งจัดเป็นชุมชนเมือง ได้รับนโยบายเรื่องสถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ หรือศูนย์สุขภาพชุมชน (PCU) ...
    • สถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ ศูนย์สุขภาพชุมชน : กรณีศึกษา โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ ส่วนงานเภสัชกรรม 

      พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร; Patcharaporn Panyawuthikrai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ เป็นโรงพยาบาลระดับจังหวัด ขนาดประมาณ 300 เตียง จัดเป็นสถานบริการสุขภาพระดับตติยภูมิ ที่จะรับบริการจากการส่งต่อของสถานบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ แต่เนื่องจากต้องรับผิดชอบประชาชนในพื้นที่ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV