• การศึกษาระบบบริการสุขภาพด้านการใช้ยาในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับปฏิบัติการในมุมมองของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ 

      อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; Yuwayong Juntarawijit; ณิชกานต์ ทรงไทย; Nichakarn Songthai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความสำคัญต่อการควบคุมการดำเนินโรคของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การส่งเสริมความร่วมมือในระดับปฏิบัติการเป็นกลไกสำคัญของการรักษาและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วย การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผส ...
    • การศึกษาเปรียบเทียบผลของการแก้ปัญหาการใช้ยาโดยเภสัชกรโรงพยาบาลชุมชนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงก่อนและหลังผู้ป่วยพบแพทย์ 

      โพยม วงศ์ภูวรักษ์; Payoom Wongpuwaruk; ฐิติมา ด้วงเงิน; ชูศรี รัดแก้ว; จันทร์จิราภรณ์ เจริญวงศ์; สุนิตย์ คำหล้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของรูปแบบการแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงโดยเภสัชกรโรงพยาบาลชุมชนก่อนและหลังผู้ป่วยพบแพทย์ โดยทำการศึกษาแบบ control-group time series design กลุ่มผู้ป่วยที่พบเภสัชกรก ...
    • การศึกษาโรคปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และการใช้ยาชุดของประชาชนอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      นิธินาถ เอื้อบัณฑิต; Nithinat Auabandit; มงคลรัตน์ อุ่นแก้ว; มยุรีย์ คำอ้อ; มลทา ทายิดา; ยุวดี อดทน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      โรคปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และการใช้ยาชุดของประชาชน อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาอุบัติการณ์และสาเหตุของการปวดกล้ามเนื้อและข้อ วิธีการดูแลตนเองเมื่อมีอาการปวด และการกระจายของยาชุดแก้ปวดกล้ามเนื้อในชุมชน ...
    • การสร้างทีมงานสหวิชาชีพในการรายงานอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ : กรณีศึกษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรม 

      อุษณีย์ กิตติวงศ์สุนทร; Usanee Kittiwongsunthorn; รัชนี ตั้งมานะกุล; อดุลย์ ราชณุวงษ์; ประพิศ เทพอารักษ์กุล; อรชร มาลาหอม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การสร้างทีมงานสหวิชาชีพในการรายงานอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ กรณีศึกษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรม งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้วิธีสร้างทีมงานสหวิชาชีพในการเพิ่มประสิทธิภาพการรายงาน ...
    • การสำรวจระบบควบคุมและเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะและการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล : ผลการศึกษาเบื้องต้น 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; ภาณุมาศ ภูมาศ; ภูษิต ประคองสาย; Nithima Sumpradit; Saowalak Hunnangkul; Panumart Phumart; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการใช้ยาปฏิชีวนะ ระบบและกลไกการควบคุมและการเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะรวมทั้งมาตรการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา ...
    • การสำรวจสถานะสุขภาพและสภาพการใช้ยาของประชาชนในชุมชน 

      Wuntipong Satawongtip; วุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์; อุษาวดี มาลีวงศ์; ปิลันธนา สัจจวาที; ธนารัตน์ เกียรติสกล; ไพบูลย์ อัศวธนบดี; สุทธิรัตน์ บุษดี; Ausawadee Maleewaong; Pisantana Sachawktee; Tanarat Kiasakol; Paiboon Asawatanabodee; Suteerat Busadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาเรื่องการสำรวจสถานะสุขภาพและสภาพการใช้ยาของประชาชนในชุมชนเป็นงานวิจัยหนึ่งในชุดวิจัยเกี่ยวกับบทบาทร้านยากับโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาทรักษาทุกโรค เมื่อรัฐบาลประกาศนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและเริ่มโครงการ ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555 

      สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย); มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเภสัชศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลพบได้ทั้งในกลุ่มผู้ใช้ยาและผู้สั่งจ่าย ทั้งในสถานพยาบาลและร้านยา โดยเฉพาะในโรคหวัดที่พบว่า ประชาชนเกินกว่าครึ่งที่ใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษา เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสม ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลท่าวังผา 

      ปิยพร บุณยวัฒน (โรงพยาบาลท่าวังผา จังหวัดน่าน, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาการบริหารจัดการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter8-9 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use : การศึกษาการขยายผลสู่ความยั่งยืนโดยการสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคม (พ.ศ. 2554 – 2556) 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      เชื้อแบคทีเรียดื้อยาจากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลได้กลายเป็นวิกฤตร่วมของคนทั่วโลก รวมทั้งของประเทศไทย เนื่องจากแบคทีเรียมีการปรับตัวให้ดื้อต่อยาปฏิชีวนะส่งผลให้ยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในปัจจุบันไม่มีประสิทธิภาพในการรักษา ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เขตบริการสุขภาพที่ 10 

      อุษณีย์ กิตติวงศ์สุนทร; Usanee Kittiwongsunthorn (โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์, 2559-08-01)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสู่โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ. 2559 วันที่ 1-2 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6-7 ชั้น 5 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ
    • การหาปริมาณการใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อนในประเทศไทย 

      วลาสินี ศักดิ์คำดวง; Walasinee Sakcamduang; บุญรัตน์ จันทร์ทอง; Boonrat Chantong; ศรินทร์ สุวรรณภักดี; Sarin Suwanpakdee; อนุวัตน์ วิรัชสุดากุล; Anuwat Wiratsudakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2022)
      Antimicrobial resistance (AMR) is becoming more of a problem in both human and veterinary medicine. The major causes of antibiotic resistance include improper antimicrobial usage. Furthermore, antibiotic usage in veterinary ...
    • การเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลเนื่องจากปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-10)
      ปัญหาการใช้ยาที่นำไปสู่การเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลเป็นสาเหตุสำคัญของความเจ็บป่วยพิการซึ่งเป็นภาระต่อระบบสุขภาพซึ่งที่มีทรัพยากรจำกัด นอกจากนี้ปัญหาการใช้ยาเป็นประเด็นความเสี่ยงทางสุขภาพสำคัญในเอกสารเชิงนโยบายทั่วโลก จ ...
    • การเพิ่มความรับผิดชอบและประสิทธิภาพของระบบการกำกับการกินยารักษาวัณโรคโดยใช้แอปพลิเคชั่นมือถือ 

      วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; พลกฤต ขำวิชา; Ponlagrit Kumwichar (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      การติดตามการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคด้วยการมีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาต่อหน้า (Directly Observed Therapy, DOT) ไม่สามารถติดตามการกินยาของผู้ป่วยได้อย่างยั่งยืน เนื่องจากไม่มีระบบจัดการที่เหมาะสม รวมทั้งไม่มีระบบกำกับภาระหน้าที่ ...
    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อ ลด ละ เลิก การใช้ยาปฏิชีวนะผิดๆ ในชุมชน ปี พ.ศ. 2555 

      สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย); มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเภสัชศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      ปัญหาการเรียกหายาปฏิชีวนะอย่างผิดเป็นปัญหาซึ่งหน้าของเภสัชกรร้านยา ที่มุ่งมั่นในการแก้ปัญหาสุขภาพนี้ด้วยความนุ่มนวลและอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการความรู้/ความเชื่อที่สุจริต ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาที่ ...
    • การใช้ยา 

      นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี; Niyada-kiatying-angsulee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • การใช้ยาตามวิถีชีวิตมุสลิมในเดือนรอมฎอนของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะไตเสื่อม 

      นีลนาถ เจ๊ะยอ (โรงพยาบาลหนองจิก จังหวัดปัตตานี, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาระบบบริการ วันที่ 21 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.30-16.30 น. ณ Jupiter6-7 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • การใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐม 

      วิวัฒน์ ถาวรวัฒนยงค์; จตุพร อโณทยานนท์; นิรมล เรืองสกุล; พัลลภ ศรีภิรมย์รักษ์; รินพัท ชมจันทร์; Wiwat Thavornwattanayong; Jatuporn Anothayanon; Niramol Reungsakul; Phanlop Sriphiromrak; Rinapat Chomjan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      ปัญหาการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุเป็นปัญหาสำคัญที่ได้รับความสนใจจากหลายประเทศทั่วโลกแต่ในประเทศไทยยังไม่มีการศึกษามากนัก การศึกษานี้ได้สำรวจการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุในตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐมโดยใช ...
    • การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ 

      รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ยุพิน ศุพุทธมงคล; Yupin Suputtamongkol; ยงค์ รงค์รุ่งเรือง; Yong Rongrungruang; เมธี ชยะกุลคีรี; Methee Chayakulkeeree; ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์; Kovit Pattanapanyasat; จตุรงค์ เสวตานนท์; Jaturong Sewatanon; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham; สุสัณห์ อาศนะเสน; Susan Assanasen; กษมา สุขาภิรมย์; Kasama Sukapirom; มาโนช รัตนสมปัตติกุล; Manoch Rattanasompattikul; กนก วงศ์สวัสดิ์; Kanok Wongsawad; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; ลัลธริตา เจริญพงษ์; Lantharita Charoenpong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; อิงอร ประสารชัยมนตรี; Ing-orn Prasanchaimontri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ ...
    • การใช้ยาในผู้สูงอายุไทยเขตภาคเหนือตอนล่างประเทศไทย 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      การศึกษาปัญหาการใช้ยาในประชากรสูงอายุอย่างเป็นระบบในประเทศไทยเพื่อสะท้อนภาพของปัญหาการใช้ยาในชุมชน และนำไปสู่การพัฒนากรอบนโยบายด้านยารวมทั้งการจัดสรรทรัพยากรสำหรับการแก้ไขปัญหาการใช้ยาในกลุ่มประชากรสูงอายุของประเทศเป็นเรื่องจำเป็น ...