Now showing items 21-29 of 29

    • การใช้ดัชนีบ่งชี้ทางเคมีและชีวภาพเพื่อติดตามตรวจสอบมลพิษทางอากาศและการพัฒนาเครื่องมือสำหรับชุมชนในการเฝ้าระวังคุณภาพอากาศ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน 

      ว่าน วิริยา; Wan Wiriya; สมพร จันทระ; Somporn Chantara; วนารักษ์ ไซพันธ์แก้ว; Wanaruk Saipunkaew; ณัตติพร ยะบึง; Nuttipon Yabueng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในชุมชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติโดยใช้ดัชนีบ่งชี้ทางเคมีและทางชีวภาพ 2) พัฒนาดัชนีบ่งชี้ทางเคมีเพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับในการเฝ้าระวังคุณภาพอากาศสำหรับชุมชน 3) เพื่อถ่ายท ...
    • ความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      พสิษฐ์ พัจนา; Phasith Phatchana; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Sankong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; กุลปรียา โพธิ์ศรี; Kulpreya Phosri; ภิเษก ระดี; Bhisek Radee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์มูลค่าความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความยินดีจ่าย กลุ่มตัวอย่างของการศึกษา คือ ประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในตำบลสะอา ...
    • คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีและไม่มีภาวะแทรกซ้อนและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; เยาวดี สุวรรณนาคะ; อรุณี ไชยฤทธิ์; บุญสืบ โสโสม; สราวุฒิ สีถาน; มยุรี สร้อยศรีสวัสดิ์; สำราญ จันทร์พงษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งโรคนี้ก่อให้เกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์และภาวะแทรกซ้อนที่อวัยวะสำคัญที่ผู้ป่วยต้องจัดการ ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย วัตถุประ ...
    • คู่มือนักสืบไลเคน 

      ว่าน วิริยา; Wan Wiriya; สมพร จันทระ; Somporn Chantara; วนารักษ์ ไซพันธ์แก้ว; Wanaruk Saipunkaew; ณัตติพร ยะบึง; Nuttipon Yabueng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      ไลเคนเป็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆ แต่มีชีวิตที่น่าสนใจ เริ่มต้นจากจุดกำเนิดที่มาจากสิ่งมีชีวิตมากกว่าหนึ่งชนิดมาอยู่ร่วมกัน เกื้อกูลซึ่งกันและกัน จนกระทั่งดำรงชีวิตอยู่ได้ แม้กระทั่งในพื้นที่ที่สภาพแวดล้อมไม่เอื้อต่อการดำรงชีวิต ...
    • พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลเขาไร่ อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม 

      ปิติ ทั้งไพศาล; Piti Tangpaisarn; ระดา พันธุ์เชื้อ; Rada Punchuea; อภิญญา อรบุตร; Arpinya Oraboot; รุ่งทิวา ศรีเดช; Rungtiwa Sridach (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวิจัยเชิงพรรณนาโดยการสำรวจศึกษาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ รวมทั้งหาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ในเขตตำบลเขวาไร่ อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม ในช่วงเดือ ...
    • วิถีชีวิตและวิถีสุขภาพของคนงานก่อสร้างในภาคเหนือ 

      อัญชลี สิงหเนตร-ฤนาท; Anchalee Singhanatr-runat; ณัฐยา ศักดิ์สูง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      วิถีชีวิตและวิถีสุขภาพของคนงานก่อสร้างในภาคเหนือการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพเพื่อศึกษาบริบทและกลไกที่เป็นตัว กำหนดวิถีชีวิตและวิถีสุขภาพของคนงานก่อสร้าง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง1.ลักษณะของงานก่อสร้างและแ ...
    • สถานะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรวัยแรงงานไทย 

      สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์; Somkiat Sirirattanapruk; ศิริลักษณ์ สิมะพรชัย; อรสา โฆวินทะ; สมาน ฟูตระกูล; ทิชาพงษ์ หาญสรกานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ประชากรวัยแรงงานเป็นกลุ่มประชากรหลักในการสร้างผลผลิต และต้องดูแลกลุ่มประชากรวัยอื่น ๆ ของประเทศ ดังนั้นสถานะสุขภาพของประชากรวัยแรงงานสามารถบ่งบอกถึงสภาวะสุขภาพของประชากรไทยรวมทั้งประเทศ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ ...
    • สุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบเขตอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 

      จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์; สุนทร เหรียญภูมิการกิจ; ชาติวุฒิ จำจด; นัยนา พันโกฏิ; Chanthip Intawong; Sunthorn Rheanpumikankit; Chattiwut Chamchod; Naiyana Phankote (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาพรรณนาภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาพ ระดับคุณภาพชีวิต และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มตัวอย่าง 943 คน ที่อาศัยอยู่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีแ ...
    • อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 

      ศักดา ทองดีเพ็ง; Sakda Tongdeepeng; พนิดา ประทุมวัน; Panida Pratumwan; ปิยะวัฒน์ หนูกลัด; Piyawat Hnuklud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 และจัดลำดับโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญในเขตสุขภาพที่ 3 เป็นวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรทาโร่ยามาเน่ ...