Now showing items 354-373 of 5433

    • You can do it : designed by disability 

      ภัทรีพันธ์ พงศ์วัชร์; เบญจางค์ สุขจำนงค์; นริศา ปิ่นวาสี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      งานสร้างเสริมสุขภาพประชาชน ไม่ได้เป็นการทำงานด้านสาธารณสุขอย่างเดียวเท่านั้นแต่ยังมีอีกหลากหลายมิติที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ล้วนแล้วแต่มีความเกี่ยวข้องและเป็นป ...
    • กงล้อที่เคลื่อนไป 1 รอบปี (กันยายน 2552-สิงหาคม 2553) จากสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นว่าด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก สู่มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 2 มติ 7 

      ดารณี อ่อนชมจันทร์ (สถาบันสุขภาพวิถีไทย ภายใต้ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-08)
      การส่งเสริมพัฒนางานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ทั้งการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกของไทยเรา แม้จะดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องมากกว่า 20 ปี จนมีแผนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไทสุขภาพวิถีไท พ.ศ.2550-2554 ...
    • กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรีของประเทศไทยและต่างประเทศ 

      นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 ได้บัญญัติว่า เครื่องดื่มใดๆ ที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี ไม่ถือว่าเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จึงมีผลให้เครื่องดื่มดังกล่าวไม่ถูกควบคุมฉลาก การโฆษณาและมาตรการอื่นๆ ภายใต้พระราช ...
    • กฎหมายคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ในร้านอาหารที่มีห้องอาหารปรับอากาศ 

      ชูชัย ศุภวงศ์; สุภกร บัวสาย; นวลอนันต์ ตันติเกตุ (2540)
      จาการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความเข้าใจเรื่องโทษภัยของบุหรี่เป็นอย่างดี และต้องการให้ร้านอาหารโดยเฉพาะร้านที่ติดเครื่องปรับอากาศขยายเขตปลอดบุหรี่เพิ่มขึ้นจากเดิม ในขณะที่ด้านเจ้าหน้าที่รัฐผู้รับ ...
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบทบาทองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพ 

      หทัยชนก สุมาลี; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; จิรบูรณ์ โตสงวน; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; Jiraboon Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      ในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพมีกฎหมายมาเกี่ยวข้องมากมายหลายฉบับ แม้แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ก็ยังได้บัญญัติให้รับรองสิทธิของบุคคลในการรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ รับรองสิทธิของบุคคลในการได้รับข ...
    • กฎหมายเกี่ยวกับยา 

      กิตติ พิทักษ์นิตินันท์; Kitti Pitaknitinan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • กฏนูเรมเบิร์ก 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)
      กฏนูเรมเบิร์กเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่เขียนขึ้นเพื่อป้องกันมิให้มีการละเมิดจริยธรรม เช่นที่เกิดขึ้นในกองทัพนาซี กฎดังกล่าวเขียนขึ้นขณะที่ทั่วโลกเฝ้า ...
    • กฏบัตรออตตาว่าด้วยการสร้างเสริมสุขภาพและข้อเสนอแนะต่อนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ 

      ดวงใจ รุ่งโรจน์เจริญกิจ; Duangchai Rungrotcharoenkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      คําประกาศอัลมา-แอตตา (The Declaration of Alma-Ata) ในทศวรรษที่ผ่านมาถือเป็นก้าวสําคัญในการเคลื่อนไหวเรื่อง สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All) นับตั้งแต่มีการเริ่มต้นประชุมสมัชชาสุขภาพโลกเมื่อค.ศ. 1977 การเคลื่อนไหวครั้งนี ...
    • กฏหมายความปลอดภัยทางชีวภาพ 

      เจษฎ์ โทณะวณิก; Chat Tonawanik (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่มีความก้าวหน้ามากในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าจะในทางการแพทย์ การเกษตร หรือแม้กระทั่งด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่ว่านี้ได้ถูกนำมาสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นมากมาย เช่น สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมในรูปแบบต่างๆ ...
    • กรณีศึกษา : การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 

      กานต์นะรัตน์ จรามร; Karnnarut Jaramorn; นันทวดี เนียมนุ้ย; Nunthawadee Niamnuy; ไพโรจน์ เสาน่วม; Pairoj Saonuam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นับเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทย มีการกำหนดมาตรการเพื่อลดการบริโภคทั้งมาตรการทางกฎหมายและมาตรการทางสังคม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการลดพฤติกรรม ...
    • กรณีศึกษา แนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินการตามกุญแจ PLEASE สู่การเป็น RDU Hospital 

      ชัยรัตน์ ฉายากุล; สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิ; พาขวัญ ปุณณุปูรต; ผุสดี ปุจฉาการ; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; วินัย วนานุกูล; นริสา ตัณฑัยย์; วุฒิรัต ธรรมวุฒิ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาโรงพยาบาลที่เข้าร่วมในโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU Hospital) ในประเทศไทย ซึ่งดำเนินการภายใต้คณะอนุกรรมการส่ง ...
    • กรณีศึกษาการวิเคราะห์ต้นทุนบริการสุขภาพปฐมภูมิเปรียบเทียบระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลถ่ายโอนแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและที่คงสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 

      ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์ 1; Chanida Ekakkararungroj 1; กฤษฎา เจริญรุ่งเรืองชัย 2; Kridsada Chareonrungrueangchai 2; ชญาพัช ราชาตัน 1; Chayapat Rachatan 1; เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์ 1; Sherilyn Pratumsuwan 1; ธนายุต เศรณีโสภณ 1; Thanayut Saeraneesophon 1; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ 1; Nachawish Kittibovorndit 1; ยศ ตีระวัฒนานนท์ 1; Yot Teerawattananon 1 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยของบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ถ่ายโอนไปเทศบาลเมือง และเทศบาลตำบล และ รพ.สต. ที่ยังสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ใช้วิธีวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยแบบมาตรฐาน ...
    • กรณีศึกษาเปรียบเทียบระบบดูแลผู้ป่วยภาวะไตวายเรื้อรัง อำเภอคลองขลุง จ.กำแพงเพชร และ อำเภอกงหรา จ.พัทลุง 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; เกศทิพย์ บัวแก้ว; Kadethip Buakaew; สุดา ขำนุรักษ์; Suda Khumnurak; กวิน กลับคุณ; Kavin Klubkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)
      การขยายชุดสิทธิประโยชน์ความคุ้มครองแก่ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งแต่ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมานั้น มีผู้ป่วยเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในขณะที่ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการทด ...
    • กรณีอ้างอิงเมโสเธลิโอมา 

      สมชัย บวรกิตติ; อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ผู้เขียนได้ยินได้ฟังนักวิชาการไทยหลายท่านวิจารณ์บ่อยๆ ว่าผู้นิพนธ์ไทยมักไม่อ้างอิงผลงานเขียนของคนไทย อ้างแต่ผลงานของต่างชาติ เร็วๆ นี้ผู้เขียนไปอ่านพบบทความรายงานผู้ป่วย เรื่อง มะเร็วเยื่อหุ้มปอดจากการทำงานในประเทศไทย ...
    • กรอบการวิจัย สวรส. ปี 2562 ประเด็นวิจัย : Service delivery, Workforce, Governance 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นวิจัย การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ระบบบริการ และระบบอภิบาลสุขภาพ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • กรอบการวิจัย สวรส. ปี 2562 ประเด็นวิจัย : การเงินการคลังสุขภาพ 

      จเร วิชาไทย; Charay Vichathai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นการเงินการคลังสุขภาพ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • กรอบการวิจัยด้านสุขภาพประจำปี 2566 ข้อเสนอโครงการแบบไหนตอบโจทย์งานวิจัย สวรส. 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • กรอบงานวิจัยระบบยา ปี 2566 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร: บทเรียนสำหรับการจัดทำรัฐธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2551 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; ลลิดา เขตต์กุฎี; Lalida Khetkudee; เยาวลักษณ์ จิตตะโคตร์; Yaowalak Jittakoat; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      บัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคมเป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภ ...
    • กรอบบริการฟื้นฟูโดยคนพิการและครอบครัวในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปสำหรับความพิการทางสติปัญญา ออทิสติกและการเรียนรู้ 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; วาริสา ทรัพย์ประดิษฐ; Warisa Suppradist; นำพร สามิภักดิ์; Numporn Samiphuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรอบบริการฟื้นฟูโดยคนพิการและครอบครัวในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปสำหรับความพิการทางสติปัญญา ออทิสติก และการเรียนรู้ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาบริการอื่นๆ ที่จำเป็น ...