Now showing items 4808-4827 of 5344

    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมบริการด้านสุขภาพที่จำเป็น 2) การล้มละลายทางการเงินด้านสุขภาพ และ 3) ผลลัพธ์ของการบรรลุหลักประกันสุขภา ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2545-2546 : รายงานวิจัยเล่มที่1 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiarmworakul; Sasiwut Vongmontha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระหว่างปี 2544-2547 ซึ่งเป็นการสรุปการดำเนินงานของโครงการที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันสุขภาพของภาครัฐที่สำคัญ 4 โครงการคือ โครงการสวัสดิการข้ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwannakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      คนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทยประกอบด้วยคนไร้รัฐ แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองและผู้ลี้ภัย รวมประมาณห้าแสนคนซึ่งยังไม่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลต่อสถานะสุขภาพของคนชายขอบ มีการเข้าถึงบริการน้อยกว่าคนสัญชาติไทย 6 เท่า ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น : ความเป็นไปได้ของการบรรลุความครอบคลุมถ้วนหน้า 

      วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพทั่วหน้ากับการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข การทบทวนองค์ความรู้นี้ เป็นการตรวจสอบองค์ความรู้เชิงทฤษฎีและประสบการณ์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ...
    • หลักประกันสุขภาพแบบสิงคโปร์ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2538)
      บทความนี้เป็นอีกบทความหนึ่งที่เสนอแนวทางการแก้ปัญหาระบบบริการสุขภาพในประเทศไทยโดยชี้ให้เห็นถึงแนวคิดและรูปแบบการดำเนินงานด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศสิงคโปร์ ซึ่งมีมุมมองในการแก้ปัญหาอีกรูปแบบหนึ่งและรูปแบบดังกล่าวอาจจะ ...
    • หลักประกันสุขภาพในสายตาประชาชน 

      สำนักวิจัยเอแบค-เคเอสซีอินเตอร์เนตโพลล์(เอแบคโพลล์) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ; ABAC-KSC Internet Poll(ABAC POLL) Assumption University (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      หลักประกันสุขภาพในสายตาประชาชนการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สำรวจรูปแบบหลักประกันสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วประเทศเพื่อสำรวจความเห็น ความเข้าใจและความคาดหวังของกลุ่มตัวอย่างประชาชนต่อนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อส ...
    • หลักสูตรการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีเมืองและการขนส่ง 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ปัญหาเรื่องเมืองและการขนส่ง ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับประชาชนจำนวนมาก ทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับไม่มีนโยบายการควบคุมรถยนต์ ไม่มีการวางผังเมือง สร้างก่อนแล้วจึงมาวางผังเมือง และถนน ส่งผลกระทบต่อการจราจร ความหนาแน่นและ ...
    • หลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; สกนธ์ สุภากุล; Sakon Supakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิตมีความรู้ ทักษะ และสามารถดูแล ...
    • หลักสูตรการฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการเพื่อการเปลี่นแปลง สู่การพึ่งพากันเอง วันที่ 18-28 มิถุนายน 2542 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
    • หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลผู้ใช้ยาและสารเสพติด 

      กระทรวงสาธารณสุข. สถาบันธัญญารักษ์ กรมการแพทย์; มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะพยาบาลศาสตร์ (สถาบันธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550)
    • หลักสูตรนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในระดับท้องถิ่น 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ; แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      องคก์การบริหารส่วนท้องถิ่น เช่น องค์กรบริหารส่วนตำบล (อบต.) เป็นราชการส่วนท้องถิ่นมีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาท้องถิ่นที่สำคัญลำดับแรก ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการจัดบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตนเอง ...
    • หลักสูตรนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในระดับประเทศ 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ; แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการพัฒนาหลักสูตรนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพเพื่อสุขภาพระดับประเทศ โดยจัดขึ้น 5 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมจาก 3 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ...
    • หลักสูตรฝึกอบรมผู้ปกครองในการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; ภิญโญ อิสรพงศ์; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; วรรณกมล สอนสิงห์; นุจรี คำด้วง; สุรีรักษ์ พิลา; พัชนี พัฒนกิจโกศล; ชุตินาถ ศักรินทร์กุล; รณสิงห์ รือเรือง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมผู้ปกครองในการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีต่อเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมเกี่ยวกับโรคส ...
    • หลักสูตรฝึกอบรมสำหรับครูโรงเรียนแกนนำร่วมประถมศึกษาในการดูแลปรับพฤติกรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ในเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับครูโรงเรียนแกนนำเรียนร่วมประถมศึกษาในการดูแล ปรับพฤติกรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ในเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นเพื่อให้ครูโรงเรียนแกนนำเรียนร่วมใช้สำหร ...
    • หลักสูตรอบรมอาสาสมัครแรงงานต่างด้าวด้านสุขภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (อสต อช.) 

      อรพันธ์ อันติมานนท์; Orrapan Untimanon; จุไรวรรณ ศิริรัตน์; Churaiwan Sirirat; โกวิทย์ บุญมีพงศ์; Kowit Boonmephong; ภัทรินทร์ คณะมี; Pattarin Kanamee; อมราภรณ์ ลาภเหลือ; Ammaraporn Laplue; ธิติรัตน์ สายแปง; Titirut Saipang; กมลชนก สุขอนันต์; Kamonchanok Sukanun; ธนาพร ทองสิม; Tanaporn Thongsim (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-04-03)
      โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการอาชีวอนามัยที่เป็นมิตรสำหรับการดูแลสุขภาพแรงงานต่างด้าว ได้พัฒนาหลักสูตรอบรมอาสาสมัครแรงงานต่างด้าวด้านสุขภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (อสต อช.) โดยการหาความจำเป็นและความต้องการในการจัดอบรม ...
    • หลักสูตรเสริมสร้างศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการทำงานในระบบบริการปฐมภูมิ 

      ชนินทร์ เจริญกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • หลักสูตรและคู่มือพื้นฐานการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด 

      อัญมณี บูรณกานนท์; ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; สิริพรรณ ศรีมีชัย (สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553-03)
      ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ ลักษณะของปัญหามีความเกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ยิ่งปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายอย่างที่มีผลกระทบต่อสถานการณ์ยาเสพติดของประเทศ โดยมีความรุนแรงที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ...
    • หลักสูตรและประมวลรายวิชา การสื่อสารเพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรค 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat; พาหุรัตน์ คงเมือง ทัยสุวรรณ์; Phahurat Kongmuang Thaisuwan; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsanguan; สุรสิทธิ์ บุพชาติ; Surasit Bupachat; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 14 ประเทศของโลกที่มีปัญหาเกี่ยวกับวัณโรค (Tuberculosis) ร่วมกันทั้งสามด้าน คือ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) และผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา (MDR-TB) สูง ซึ่งในแต่ละปีมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ...
    • หลักสูตรใหม่เพื่อการศึกษาต่อเนื่องระดับปริญญาของทรัพยากรมนุษย์ทางสาธารณสุขระดับสถานีอนามัย โดยการเรียนการสอนในพื้นที่ 

      รวินันท์ ศิริกนกวิไล (2540)
      สถานีอนามัยนับเป็นด่านหน้าของระบบบริการสาธารณสุขท้องถิ่นที่จะช่วยให้เกิดการครอบคลุมบริการสาธารณสุขอย่างเป็นธรรม และบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้าตามเป้าหมาย รวมทั้งการเสริมภาวะพึ่งตนเองและมีส่วนร่วมของชุมชนด้านสุขภาพอนามัย ...