Browsing สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) by Subject "บริการการแพทย์ฉุกเฉิน"
Now showing items 1-14 of 14
-
การทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศในการพัฒนาระบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และบทเรียนสำหรับประเทศไทย
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2556-02)รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศที่พัฒนาแล้วและของประเทศไทย ตลอดจนวิเคราะห์เปรียบเทียบจุดแข็งจุดอ่อนเพื่อสังเคราะห์เป็นข้อเสนอสำหรับการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของไทยโดยอ ... -
การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ : ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้บริการในระบบการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)อุบัติการณ์การตายและพิการของผู้ป่วยฉุกเฉินสามารถลดลงได้ด้วยการใช้ระบบการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล จากรายงานล่าสุดมีเพียงร้อยละ 3.1 เท่านั้นที่ใช้บริการในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ก่อนถึงโรงพยาบาล จึงมีความจำเป็นเร่งด่ ... -
การประเมินแผนหลักการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ปี 2553-2555
(สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2555)การประเมินผลการดำเนินงานตาม “แผนหลักการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ปี 2553-2555 มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเมินการดำเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศ โดยเน้นการประเมินผลดำเนินงานในช่วงครึ่งแรกของแผนหลักการแพท ... -
การรอดชีวิตของผู้บาดเจ็บหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลที่ได้รับการช่วยเหลือดูแลรักษาโดยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)ภูมิหลังและเหตุผล ประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนสูงสุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สูงสุดถึง 32.7 คนต่อ 1 แสนประชากร จังหวัดเชียงใหม่มีอัตราการเสียชีวิตเป็นอันดับที่ 5 ของประเทศ การจัดระบบบ ... -
การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาลของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อพัฒนาสู่ระบบต้นแบบและการพัฒนาระบบดัชนชีวัดหลักของระบบ : ฉบับที่ 1.2 การพัฒนาตัวชี้วัดในระดับปฏิบัติการสำหรับระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
(ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551)ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร เห็นได้จากผลการดำเนินงานที่แตกต่างกันมากในแต่ละจังหวัด โดยแนวทางหนึ่งที่สามารถใช้ในการพัฒนาระบบฯ ได้ คือ การนำตัวชี้วัดที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาป ... -
การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาลของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อพัฒนาสู่ระบบต้นแบบและการพัฒนาระบบดัชนีชี้วัดหลักของระบบ : ฉบับที่ 1.1 การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล
(ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551)งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแนวปฏิบัติการดำเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล โดยการลงพื้นที่สัมภาษณ์เชิงลึกถึงแนวทางการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบฯ ในจังหวัดที่เป็นพื้นที่กรณีศึกษา ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น ... -
ความรู้ ทัศนคติ และเหตุผลที่ไม่เรียกใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยฉุกเฉินในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)ผู้ป่วยฉุกเฉินที่เรียกใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินมีโอกาสที่จะรอดชีวิตและลดความพิการที่อาจจะเกิดขึ้นได้ แต่ปัจจุบันมีการเรียกใช้บริการฯ ค่อนข้างน้อย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและเหตุผลที่ไม่เรียกใช้บร ... -
คุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุของหน่วยกู้ชีพ เขตอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษาคุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุของหน่วยกู้ชีพเขตอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เป็นการศึกษาแบบย้อนหลังโดยการรวบรวมข้อมูลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการช่วยเหลือจากระบบการแพทย์ฉุกเฉินผ่านทางหน่วยกู้ชีพของเขตอำเภอสูงเม่น ... -
ค่าบริการวิชาชีพที่ให้บริการแก่ผู้ป่วยฉุกเฉินของสถานพยาบาลเอกชนภายใต้โครงการพัฒนาข้อเสนอ UCEP ด้านการเงินการคลัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)ค่าบริการวิชาชีพ (professional fee) เป็นหนึ่งในกลุ่มรายการที่กำหนดให้มีการเบิกจ่ายให้กับสถานพยาบาลที่ให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉิน ซึ่งที่ผ่านมาพบว่ามีมูลค่าเรียกเก็บรวมสูงกว่า 88 ล้านบาท สูงเป็นอันดับหนึ่งของมูลค่าเรียกเก็บใน ... -
บทสังเคราะห์รายงานการประเมินแผนหลักการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ปี 2553-2555
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555)รายงานฉบับนี้เป็นการสังเคราะห์ข้อมูลจากรายงานการประเมินแผนหลักการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2553 – 2555 ซึ่งดำเนินงานโดย ดร.สงครามชัย ลีทองดี ร่วมกับทบทวนเอกสารทุติยภูมิของ สพฉ. เพิ่มเติม เช่น รายงการการประชุม ... -
ประสบการณ์ของผู้ป่วยที่ใช้บริการในโรงพยาบาลเอกชนนอกเครือข่ายระบบประกันสุขภาพภาครัฐและขอใช้สิทธิ “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (UCEP)”
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสบการณ์ของผู้ป่วยฉุกเฉินที่ไปขอใช้สิทธิ “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (Universal Coverage for Emergency Patients: UCEP)” ในโรงพยาบาลเอกชนนอกเครือข่ายระบบประกันสุขภาพภาครัฐ ... -
ผลการดำเนินงานการพัฒนารูปแบบการจัดบริการแพทย์ฉุกเฉินเมื่อเกิดภัยพิบัติ
(สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2552-12) -
ผลการดำเนินงานงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน : แนวปฏิบัติสำหรับการพัฒนาระบบบริการแพทย์ฉุกเฉิน
(สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2552-12) -
ผลการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปี 2549-2552
(แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2552-02)