Browsing สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) by Subject "ยาปฏิชีวนะ"
Now showing items 1-20 of 56
-
3 โรครักษาได้ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
(2551-03) -
HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ วิกฤตและทางออกของสังคมไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)สำหรับฉบับนี้ ถือเป็นฉบับที่ 1 ประจำเดือนมิถุนายน 2555 ที่มาพร้อมกับสาระความรู้ที่เข้มข้น ซึ่งจะได้นำมาแบ่งปันกันในฉบับนี้ โดยเมื่อปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข ... -
การกระจายและการใช้ยาปฏิชีวนะของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)ความไม่สอดคล้องระหว่างรายการยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในหน่วยบริการ กับศักยภาพการให้บริการของหน่วยบริการ อาจทำให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล อันจะส่งผลต่อการเกิดเชื้อดื้อยา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายแล ... -
การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ... -
การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ... -
การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยได้ดำเนินการ 10 กิจกรรม ในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ได้แก่ 1) ประมาณการขนาดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ... -
การทบทวนเอกสารวิชาการ บทเรียนการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาในประเทศต่างๆ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-04)การควบคุมหรือแก้ไขปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยาได้มีการหารือในระดับนานาชาติ เช่น ในการประชุม World Health Assembly (WHA) ในปี 1998 ที่ประชุมได้มี resolution กระตุ้นให้ประเทศสมาชิกดำเนินการแก้ปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยา ในปี 2000 ... -
การทบทวนเอกสารวิชาการสถานการณ์เชื้อดื้อยาในนานาประเทศ : สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา ระบบติดตามเฝ้าระวัง และการควบคุม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-04)โรคติดเชื้อยังคงเป็นปัญหาสำคัญของมนุษย์ในปัจจุบัน ทั้งในแง่อุบัติการณ์การเกิดโรคและการเป็นสาเหตุการเสียชีวิต โดยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะในประชากรกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้สูงอายุซึ่งมีจำนวนมากขึ้น ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ ... -
การประเมินการกระจายแนวคิดและบรรทัดฐานของสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)นับตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ASU) เมื่อปี 2550 เป็นต้นมา ASU ยังคงมีการดำเนินอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน มีสถานพยาบาลที่ดำเนินโครงการนี้เพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี ภายใต้ความร่วมมือของภาค ... -
การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี ... -
การผนวกกลไกการติดตามและประเมินความรู้และความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพเข้าสู่การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นปัญหาระดับโลกที่คุกคามต่อความมั่นคงด้านสาธารณสุขและด้านเศรษฐกิจ มีการคาดการณ์ว่า หากไม่มีการแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง ในอีก 33 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2593) จะมีผู้เสียชีว ... -
การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2 : บทความวิชาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)รวมบทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2 -
การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 : บทความวิชาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)บทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 -
การวิเคราะห์พลวัตระบบของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในภาคประชาชน รูปแบบระดับจังหวัด : กรณีศึกษาจังหวัดนครนายก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-10)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของภาคประชาชนด้วยแนวคิดของระบบที่ซับซ้อนและมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาโดย 1) การสร้างวงจรความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ... -
การวิเคราะห์สถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพทั้งในและต่างประเทศ ศึกษาอุปสงค์และอุปทานของกำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ และคาดการณ์กำลังคนการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ... -
การศึกษาการปนเปื้อนและการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะจากแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทโรงพยาบาลและฟาร์มสุกร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)โครงการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาการปนเปื้อนและการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะจากแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทโรงพยาบาลและฟาร์มสุกร โดยการศึกษาในฟาร์มสุกร มีการทำแบบสอบถามและเก็บตัวอย่างสิ่งแวดล้อมจากฟาร์มสุกร 4 ... -
การศึกษาการปนเปื้อนและแพร่กระจายของเชื้อ Acinetobacter baumannii ที่ดื้อยาหลายขนานในหอผู้ป่วยเด็กวิกฤตเด็กและหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)เชื้อ Acinetobacter baumannii (A. baumannii) เป็นแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นสาเหตุสำคัญของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (nosocomial infection) การติดเชื้อ A. baumannii ในโรงพยาบาลเป็นปัญหาสำคัญทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทย เนื่องจากเชื้ ... -
การศึกษาระบาดวิทยาและการควบคุมของเชื้ออซีเนโตแบคเตอร์ บอมมานิไอและเอนเทอโรแบคทีเรียซีอี ที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะคาร์บาพีเนม ในเครือข่ายโรงพยาบาลภาคใต้ตอนล่าง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)บทนำ การติดเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะเป็นปัญหาสำคัญในระดับชาติ โดยเฉพาะกับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และที่สำคัญพบว่าผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อจะมีอัตราการเสียชีวิตสูง มีระยะเวลาในการครองเตียงเพื่อรักษาเป็นเวลานาน ... -
การสังเคราะห์ช่องว่างทางความรู้ด้านเชื้อดื้อยาในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Medicines) โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาต้านจุลชีพที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแพทย์และการสาธารณสุข เนื่องจากใช้เพื่อป้องกันและรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ... -
การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยโรคท้องร่วงเฉียบพลันที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว จังหวัดน่าน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)โรคท้องร่วงเฉียบพลันเป็นโรคที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ ถึงแม้ว่าสาเหตุส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียแต่ผู้ป่วยก็มักจะได้รับยาปฏิชีวนะ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือเพื่อศึกษาการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยโรคท้องร ...