• กลไกกำกับสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      วงศา เลาหศิริวงศ์; Wongsa Laohasiriwong; วิไลวรรณ เทียนประชา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีคิด การให้คุณค่า และวิธีการปฏิบัติ ตลอดจนการก่อตัวของกลไกกำกับสุขภาพภาคประชาชนในกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการวิจัย 2 ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      ศรีประภา เพชรมีศรี; Sripharpa Phetmeesri; สุวดี แก้วอินทร์สรวล; รัตนา เลี้ยวสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      รายงานผลการศึกษา เรื่อง กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ (ภาคใต้) เป็นผลการติดตามการเคลื่อนใหวของภาคประชาสังคมในฐานะที่เป็นทั้งผู้ที่จะได้รับประโยชน์ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความพยายามในการปฏิรูประบบสุข ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษากลไกสุขภาพภาคกลาง 2546 

      สุวจี กู๊ด; Suvajee Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยการศึกษากลไกสุขภาพภาคประชาชน กับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเวทีสมัชชาสุขภาพในพื้นที่ระดับจังหวัดและระดับภาค เป็นอันดับหนึ่งที่ทําให้เห็นภาพกระบวนการที่น่าจะเป็นการก่อกําเนิด ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพในภาคเหนือ 

      เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siwirod; พิกุล นันทชัยพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยเรื่องนี้มุ่งทำความเข้าใจถึงวิธีคิด วิธีปฏิบัติ และวิธีให้คุณค่าเกี่ยวกับการกลไกการขับเคลื่อนเรื่องสุขภาพและผลกระทบของกลไกการปฏิรูประบบสุขภาพที่ผ่านมา และที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันโดยการศึกษาการรับรู้ ...
    • การขับเคลื่อนขบวนการปฏิรูประบบสุขภาพด้วยกลไกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546 

      สุวจี กู๊ด; Suvajee Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาการขับเคลื่อนขบวนการปฏิรูประบบสุขภาพด้วยกลไกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546 เป็นการบันทึกปรากฏการณ์ในการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในฐานะที่เป็นกลไกสำคัญในการเปลี่ยนแปลงบริบทของการมีส่วนร่วมในกระบวนการทางกฎหมายและ ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ: ประสบการณ์จาก 10 ประเทศเป็นการสังเคราะห์บทเรียนการปฏิรูประบบสุขภาพของต่างประเทศจำนวน 10 ประเทศคือ ประเทศเยอรมนี อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีนไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย และสหรัฐอเมริกา ...
    • การมีส่วนร่วมของประชาชนกับการบริหารโรงพยาบาลรัฐ 

      อรทัย รวยอาจิณ; Oratai Rauyajin; สุวจี จันทร์ถนอม-กู๊ด; ธวัชชัย บุญโชติ; Suvajee Chantanom-Good; Thawatchai Boonchote (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การมีส่วนร่วมของประชาชนกับการบริหารโรงพยาบาลของรัฐ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสำรวจสถานการณ์ปัจจุบันของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา/บริหารโรงพยาบาล โดยศึกษารายละเอียดของลักษณะและกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน/ชุมชน ...
    • การสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อการปฏิรูประบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้พิการ 

      เนตรนภา ขุมทอง; Natenapa Khumthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      งานศึกษาชิ้นนี้เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อการปฏิรูประบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับคนพิการ และควรกำหนดไว้ในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ แหล่งข้อมูลที่ใช้ในงานสังเคราะห์ชิ้นนี้มาจากเอกสารวิชาการเป็นหลัก ...
    • ขับเคลื่อนวาระสุขภาวะไทย : ประชาสังคมกับการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2547)
      รายงานวิจัยฉบับนี้เป็นรายงานวิจัยหลักของแผนงานวิจัยประชาสังคมกับการปฏิรูประบบสุขภาพ ที่ได้ดำเนินการในระหว่างปี พ.ศ. 2545-2546 โดยมีเป้าหมายที่จะเก็บเกี่ยวบทเรียนการเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมกับการขับเคลื่อนการปฏิรูปสุขภาพ ...
    • ข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2548-12)
      เพื่อศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และโอกาสพัฒนาในระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศอย่างรอบด้าน เพื่อจัดทำข้อเสนอทางวิชาการเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพของประเทศ ให้เป็นแนวทางเพื่อให้เกิดการผลักดันการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงหลักประกั ...
    • คลื่นลูกที่ 3 ของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การปฏิรูประบบบริการสุขภาพของประเทศไทยได้ก้าวสู่ระยะที่สาม หลังจากประสบความสำเร็จในการขยายความครอบคลุมสถานพยาบาลไปทั่วประเทศในระยะที่หนึ่ง และการปฏิรูประบบการเงินการคลังจนมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระยะที่สอง ...
    • ประชาสังคมกับการพัฒนาสุขภาพ : บทวิเคราะห์ทางวิชาการ 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; Suwit Wibulpolprasert; ชูชัย ศุภวงศ์; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; เพ็ญจันทร์ ประดับมุข; ยุวดี คาดการณ์ไกล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      แนวคิดการพัฒนากระบวนการประชาสังคม หรือ Civil Society เพื่อสร้างความเข้มแข็งของสังคม อันจะนำไปสู่ สังคมสมานุภาพ และความสงบ สุข สันติ ในสังคมนั้นเพิ่งจะมีการนำเสนอเข้ามาสู่แวดวงนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ของไทย ...
    • รายงานการทำงานเพื่อพัฒนากรอบนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสาธารณสุข 

      สำนักงานปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข; Health Care Reform Office (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การทำงานเพื่อพัฒนากรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ รวมถึงการพัฒนากรอบกลไกการทำงานซึ่งเกี่ยวเนื่องกับกำลังคนด้านสาธารณสุขภายใต้ภาพระบบบริการสุขภาพในอนาคตครั้งนี้ เกิดขึ้นจากความเห็นชอบของคณะกรรมการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (คปรส.) ...